Impact Flow   beta  
<

Kraftmunity Studio

Kraftmunity Studio เป็นธุรกิจที่มุ่งเน้นการจัดการทรัพยากรหมุนเวียนจากวัสดุหลากหลายภายในชุมชน เพื่อนำมาสร้างสรรค์เป็นงานฝีมือและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์ชุมชน โดยทำงานร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในชุมชนและสถานศึกษา เพื่อสร้างโอกาสแห่งการเรียนรู้และสร้างรายได้ให้กับชุมชน

จากการสำรวจและเก็บข้อมูลผ่านแบบสอบถามในพื้นที่เทศบาลนครปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี พบว่าการคัดแยกขยะภายในชุมชนยังขาดประสิทธิภาพ โดยประเภทขยะที่พบในปริมาณมากที่สุด ได้แก่ ขยะพลาสติก เช่น ขวด แก้ว และกล่องบรรจุอาหาร รวมถึงกระดาษที่ผ่านการใช้งานแล้ว ทั้งนี้ การที่ขยะเหล่านี้ไม่ได้รับการคัดแยกอย่างเหมาะสม อาจส่งผลให้สถานที่กำจัดขยะเต็มเร็วกว่ากำหนด

Kraftmunity Studio จะรับซื้อขยะรีไซเคิลจากสถานศึกษาในพื้นที่และเปิดโอกาสให้นักเรียนจากสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการรวมกลุ่มทำขนมหรือเครื่องดื่มมาวางจำหน่ายในร้าน โดยขยะรีไซเคิลที่รวบรวมจากชุมชนจะถูกนำมาใช้เป็นวัตถุดิบหลักให้ผู้ที่เข้ามาเช่าอุปกรณ์และใช้พื้นที่เวิร์คช็อปในสตูดิโอ สร้างสรรค์งานฝีมือและงานศิลปะ นอกจากนี้ยังสามารถฝากขายผลงานผ่านสตูดิโอซึ่งจะเป็นตัวแทนจำหน่าย รวมถึงผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ของสตูดิโอเอง

:    6
:      0.00


ส่งเสริมการนำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่เพื่อสร้างคุณค่าจากวัสดุเหลือใช้และลดปริมาณขยะในชุมชน พร้อมทั้งสนับสนุนอัตลักษณ์และศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์

Goal 12: Responsible Consumption and Production
Goal 12: Responsible Consumption and Production

12.5 By 2030, substantially reduce waste generation through prevention, reduction, recycling and reuse

สร้างโอกาสและพัฒนาทักษะแรงงาน เพื่อยกระดับศักยภาพและเพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน

Goal 4: Quality Education
Goal 4: Quality Education

4.4 By 2030, substantially increase the number of youth and adults who have relevant skills, including technical and vocational skills, for employment, decent jobs and entrepreneurship




   

ชุมชน

    ชุมชนในเขตเทศบาลนครปากเกร็ด ตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
   
    
     ยังคงขาดการคัดแยกขยะอย่างมีประสิทธิภาพในพื้นที่ แม้จะมีแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจอยู่ในพื้นที่ แต่กลับไม่ได้รับความนิยมและการส่งเสริมที่เพียงพอ ซึ่งเป็นปัญหาที่ส่งผลให้ขยะในชุมชนไม่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง และยังขาดการพัฒนาในด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อดึงดูดผู้เยี่ยมชมให้เข้ามามากขึ้น

รับซื้อขยะรีไซเคิลจากภายในชุมชน

การคัดแยกขยะภายในชุมชน

  
อัตราหรือปริมาณขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่ (recycle) ในพื้นที่โครงการ / The rate or amount of waste that is recycled in the project area

0 กิโลกรัมต่อประเภท

100 กิโลกรัมต่อประเภท

รับซื้อขยะรีไซเคิลจากภายในชุมชน

ชุมชนมีรายได้จากการขายขยะรีไซเคิล

  




รับซื้อขยะรีไซเคิลจากภายในชุมชน

ปริมาณขยะรีไซเคิลที่ถูกทิ้งรวมกับขยะประเภทอื่นๆลดลง ทำให้ปริมาณขยะมูลฝอยทดลง

  
ปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่โครงการ / Amount of non-hazardous waste in the project area

1000 ตันต่อเดือน

100 ตันต่อเดือน

  • ส่งเสริมการนำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่เพื่อสร้างคุณค่าจากวัสดุเหลือใช้และลดปริมาณขยะในชุมชน พร้อมทั้งสนับสนุนอัตลักษณ์และศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์

การคัดแยกขยะภายในชุมชน

การสร้างจิตสำนึกและนิสัยในการคัดแยกขยะอย่างยั่งยืนในระยะยาว

  





การคัดแยกขยะภายในชุมชน

ทางชุมชนสามารถนำรายได้ส่วนนั้นไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาภายในชุมชนต่อไปได้

  





การคัดแยกขยะภายในชุมชน

เปิดโอกาสให้ศิลปินอิสระหรือสมาชิกภายในชุมชนที่มีความสนใจเข้ามาทำงานฝีมือหรือฝากผลลงานเพื่อจัดจำหน่าย

รายได้จากการผลิตหรือฝากขายผลงาน

  

0

0

เปิดโอกาสให้ศิลปินอิสระหรือสมาชิกภายในชุมชนที่มีความสนใจเข้ามาทำงานฝีมือหรือฝากผลลงานเพื่อจัดจำหน่าย

การพัฒนาทักษะและศักยภาพของบุคคล

  
จำนวนบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรมในช่วงระยะเวลาการรายงาน / Number of individuals who received training offered by the organization during the reporting period.

0 คน

20 คน

เปิดโอกาสให้ศิลปินอิสระหรือสมาชิกภายในชุมชนที่มีความสนใจเข้ามาทำงานฝีมือหรือฝากผลลงานเพื่อจัดจำหน่าย

หนี้สินครัวเรือนลดลง

  
รายได้ของประชากรในพื้นที่โครงการ / The average income of the people in the project area.





ชุมชนมีรายได้จากการขายขยะรีไซเคิล

รายได้จากการผลิตหรือฝากขายผลงาน


   

สถานศึกษา

    
   
    
    

รับซื้อขยะรีไซเคิลจากสถานศึกษา

รายได้จากการขายขยะรีไซเคิล

  




รับซื้อขยะรีไซเคิลจากสถานศึกษา

เปิดโอกาสให้นักเรียนจากสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการรวมกลุ่มทำขนมหรือเครื่องดื่มมาวางจำหน่ายในร้าน

รายได้จากการทำขนมหรือเครื่องดื่มมาวางจำหน่ายในร้าน

  




เปิดโอกาสให้นักเรียนจากสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการรวมกลุ่มทำขนมหรือเครื่องดื่มมาวางจำหน่ายในร้าน

การพัฒนาทักษะและศักยภาพการทำอาหารคาวหวานหรือเครื่องดื่มสำหรับประกอบอาชีพ ของนักเรียนจากสถานศึกษาที่เข้าร่วม

  
จำนวนบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรมแบบกลุ่มในช่วงระยะเวลาการรายงาน / Number of individuals who received group-based training from the organization during the reporting period.

0 คน

10 คน

เปิดโอกาสให้นักเรียนจากสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการรวมกลุ่มทำขนมหรือเครื่องดื่มมาวางจำหน่ายในร้าน