Impact Flow   beta  
<

บริษัท สตาร์ฟิชเอ็ดดูเคชั้น วิสาหกิจเพื่อสังคม จำกัด

บริษัท สตาร์ฟิชเอ็ดดูเคชั้น วิสาหกิจเพื่อสังคม จำกัด เราทำงานด้านพัฒนาการศึกษา นำมาสู่การริเริ่มสร้างโครงการและนวัตกรรมการศึกษามากมายที่สร้างผลกระทบเชิงบวก ทั้งภาพรวมของประเทศ สร้างทางออกของการศึกษาที่มีความหมายสำหรับทุกคนเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกในชีวิต ทั้งในและนอกโรงเรียน เพื่อการอยู่รอด และ ประสบความสำเร็จ วันนี้ และ พรุ่งนี้ เรามี Starfish Labz แพลตฟอร์มแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ฟรี แห่งแรกของประเทศไทยสำหรับครู เด็ก และผู้ปกครอง ที่ได้รับความนิยมสูง Starfish Class เครื่องมือช่วยประเมินสำหรับคุณครู สังเกตพฤติกรรมและเก็บหลักฐานผู้เรียนแบบอัจฉริยะ Starfish Academy สถาบันพัฒนานักการศึกษา และบุคคลทั่วไป สร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ต่าง ๆ ด้วยกระบวนการคุณภาพ ผ่านความร่วมมือกับองค์กรชั้นนำ

:    12
:      0.00

:         ปรัชญา หินศรีสุวรรณ (เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ)


เด็กขาดโอกาสทางการศึกษา คุณภาพทางการศึกษา และไม่ได้รับการศึกษาที่เท่าเทียม ขาดเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนรู้

Goal 4: Quality Education
Goal 4: Quality Education

4.1 By 2030, ensure that all girls and boys complete free, equitable and quality primary and secondary education leading to relevant and effective learning outcomes

4.2 By 2030, ensure that all girls and boys have access to quality early childhood development, care and pre-primary education so that they are ready for primary education

4.6 By 2030, ensure that all youth and a substantial proportion of adults, both men and women, achieve literacy and numeracy

บุคลากรทางการศึกษาขาดเครื่องมือทักษะในการบูรณาการ ตัวอย่างในการจัดการเรียนการสอน

Goal 4: Quality Education
Goal 4: Quality Education

4.c By 2030, substantially increase the supply of qualified teachers, including through international cooperation for teacher training in developing countries, especially least developed countries and small island developing States

โรงเรียน ขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษา ระบบการพัฒนา

Goal 4: Quality Education
Goal 4: Quality Education

4.a Build and upgrade education facilities that are child, disability and gender sensitive and provide safe, non-violent, inclusive and effective learning environments for all




   

เด็กเยาวชนที่ขาดโอกาสทางการศึกษา

    เด็กเยาวชนที่ขาดโอกาสทางการศึกษาที่ดีกว่า 4.3 ล้านคน จากทั่วประเทศ 1.กลุ่มแรก เด็กเล็กในครอบครัวที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ อายุ 0-2 ขวบ อยู่ในครอบครัวที่มีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.กลุ่มสอง กลุ่มวัยเรียน เช่น เด็กอนุบาล เด็กไทยจำนวนมากยังไม่ได้เรียนอนุบาลประมาณ 2 แสนกว่าคน 3.กลุ่มที่อยู่ในการศึกษาภาคบังคับ ช่วงอายุ 6-14 ปี หรือ ป.1-ม.3
   
    
    

สร้างโปรแกรมการศึกษา ให้กับเด็กได้เรียนรู้ ตลอดชีวิต ผ่าน แพลตฟอร์มออนไลน์

เด็กทุกคนได้รับการศึกษาที่เท่าเทียม เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกโรงเรียน

  
จำนวนเด็ก เยาวชน ผู้เรียน ที่ได้รับการศึกษา อย่างเท่าเทียมและมีคุณภาพ




สร้างโปรแกรมการศึกษา ให้กับเด็กได้เรียนรู้ ตลอดชีวิต ผ่าน แพลตฟอร์มออนไลน์

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาลดลง คุณภาพการศึกษาไทยเพิ่มขึ้น

  





  • เด็กขาดโอกาสทางการศึกษา คุณภาพทางการศึกษา และไม่ได้รับการศึกษาที่เท่าเทียม ขาดเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนรู้

เด็กทุกคนได้รับการศึกษาที่เท่าเทียม เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกโรงเรียน


   

ครู นักการศึกษา บุคลากรทางการศึกษา

    จำนวน ครู บุคลากรทางการศึกษา จำนวนมากกว่า 400,000 คนจากทั่วประเทศ
   
    
    

พัฒนาทักษะการสอน ถ่ายทอดนวัตกรรมการศึกษา บูรณาการเข้ากับการเรียนรู้ ให้กับครูผู้สอน

ครู นักการศึกษา มีองค์ความรู้ เครื่องมือ ในการถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  
จำนวนครู บุคลากรทางการศึกษา ที่ได้รับการฝึกอบรม ถ่ายทอดนวัตกรรม




พัฒนาทักษะการสอน ถ่ายทอดนวัตกรรมการศึกษา บูรณาการเข้ากับการเรียนรู้ ให้กับครูผู้สอน

สร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ ด้วยกระบวนการที่มีมาตรฐาน และคุณภาพ มี Community ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เข้มแข็ง

  





  • บุคลากรทางการศึกษาขาดเครื่องมือทักษะในการบูรณาการ ตัวอย่างในการจัดการเรียนการสอน

ครู นักการศึกษา มีองค์ความรู้ เครื่องมือ ในการถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนเรียนรู้


   

โรงเรียน ที่ขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษา ระบบการพัฒนา

    โรงเรียนในประเทศไทยที่ขาดแขลนบุคลากรทางการศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มากกว่า 15,000 โรงเรียน
   
    
    

พัฒนาครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งระบบ

โรงเรียน สถานศึกษา มีมาตรฐานในการจัดการเรียนการสอน ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน

  
จำนวนโรงเรียนที่ได้รับการพัฒนา ถ่ายทอดนวัตกรรม ทั้งระบบ




พัฒนาครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งระบบ

คุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้น สร้างมาตรฐาน การศึกษาที่ดี โรงเรียน สถาบันการศึกษายกระดับ สู่การศึกษาไทยที่มีคุณภาพ

  





  • โรงเรียน ขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษา ระบบการพัฒนา

โรงเรียน สถานศึกษา มีมาตรฐานในการจัดการเรียนการสอน ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน