< กลับไปหน้าหลัก

หนังใบสับปะรด

เผยแพร่

ภาพรวม

หนัง PEEL Lab ผลิตจากพืชและขยะเกษตรกรรม เช่น ใบสับปะรด กาบมะพร้าว ไม้ไผ่ ต้นกล้วย โดยผ่านกระบวนการอัพไซเคิลแปรรูปเส้นใยธรรมชาติให้เป็นแผ่นผ้าแบบ Non-woven หรือผ้าที่ไม่ผ่านการถักทอ และมีการเคลือบหนังด้วย bio-based solution จนเป็นวัสดุทดแทนหนังสัตว์และหนังเทียมเคมี ผลิตภัณฑ์หนังนี้มีราคาถูกกว่าหนังสัตว์ น้ำหนักเบา กันน้ำได้และมีความทนทาน สามารถนำไปใช้กับอุปกรณ์ตกแต่งภายในรถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ และสินค้าแฟชั่นได้ ถือเป็นวัสดุและเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ปัญหา

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่เราต้องการแก้ไข อุตสาหกรรมเครื่องหนังมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตบนโลกและสิ่งแวดล้อมในทางลบหลายด้าน ทุกปีเราต้องคร่าชีวิตสัตว์มากกว่า 50 ล้านชีวิตเพื่อผลิตเครื่องหนัง แต่หนังสัตว์ 80% กลับใช้ไม่ได้และต้องกำจัดทิ้ง นอกจากนี้ ยังมีการใช้น้ำ 4 แสนล้านลิตรต่อปี ในการแปรรูปหนังสัตว์ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ผ่านขั้นตอนการบำบัดน้ำเสียและทำให้แหล่งน้ำธรรมชาติถูกปนเปื้อนด้วยสารเคมี จึงทำให้หนังสัตว์เป็นวัสดุแฟชั่นอันดับหนึ่งที่ทำลายสิ่งแวดล้อมและกระตุ้นภาวะโลกร้อน ในประเทศไทย มีไร่สับปะรดมากกว่า 600,000 ไร่ ทุกฤดูกาลจะมีใบสับปะรดที่เกษตรกรต้องการกำจัด ประมาณ 800 - 1,000 กก. ที่กลายเป็นขยะเกษตรกรรมที่เกษตรกรต้องการหาวิธีกำจัด ปกติจะถูกนำไปฝังกลบหรือต้องเผาทิ้ง การเผาทิ้งนั้นก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอรไดออกไซด์ การเผาใบสับปะรด 1 ตัน จะสร้างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ? 300 กก.

แนวทางแก้ปัญหา

การสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีของ PEEL Lab เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยิ่ง มีส่วนช่วยในการควบคุมภาวะโลกร้อน ลดปริมาณขยะเกษตรกรรม และหลีกเลี่ยงการทารุณสัตว์ จากผลการประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ การผลิตหนังวัวขนาด 1 ตร.ม. จะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 107 กก.? ในขณะที่หนังเทียมของ PEEL Lab ปล่อยก๊าซเพียง 4 กก. ซึ่งปริมาณน้อยกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากการรับประทานแฮมเบอร์เกอร์หนึ่งชิ้นเสียอีก

ระยะเวลา:    12 เดือน
งบประมาณ:      2,000,000.00 บาท

ทีม:         ปิยะวัฒน์ ริมผดี (COO)


เป้าหมาย

เพื่อสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรไร่สับปะรด

Goal 8: Decent Work and Economic Growth
Goal 8: Decent Work and Economic Growth

8.1 Sustain per capita economic growth in accordance with national circumstances and, in particular, at least 7 per cent gross domestic product growth per annum in the least developed countries

8.2 Achieve higher levels of economic productivity through diversification, technological upgrading and innovation, including through a focus on high-value added and labour-intensive sectors

8.3 Promote development-oriented policies that support productive activities, decent job creation, entrepreneurship, creativity and innovation, and encourage the formalization and growth of micro-, small- and medium-sized enterprises, including through access to financial services

เพื่อลดปริมาณขยะเกษตรกรรมที่ยากในการกำจัด

Goal 12: Responsible Consumption and Production
Goal 12: Responsible Consumption and Production

12.2 By 2030, achieve the sustainable management and efficient use of natural resources

12.5 By 2030, substantially reduce waste generation through prevention, reduction, recycling and reuse

เพื่อลดการใช้หนังสัตว์ที่อาจนำไปสู่การทารุณสัตว์

Goal 15: Life on Land
Goal 15: Life on Land

15.1 By 2020, ensure the conservation, restoration and sustainable use of terrestrial and inland freshwater ecosystems and their services, in particular forests, wetlands, mountains and drylands, in line with obligations under international agreements

15.5 Take urgent and significant action to reduce the degradation of natural habitats, halt the loss of biodiversity and, by 2020, protect and prevent the extinction of threatened species


โมเดลผลกระทบทางสังคม

แนะนำเพิ่มเติม


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

เกษตรกรไร่สับปะรด

คำอธิบาย     เกษตรกรไร่สับปะรด ที่จังหวัด ราชบุรี ประจวบขีรีขันธ์เชียงราย จำนวน xx ราย 1. มีปัญหาในการกำจัดใบสับปะรด 2. สร้างรายได้เสริมจากการตัดใบมาขาย
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้รับประโยชน์ทางตรง
ระดับความสำคัญ      สูง
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย      - จำเป็นต้องกำจัดต้นสับปะรดด้วยวิธีที่อาจก่อให้เกิดมลพิษ - มีโอกาสเพิ่มรายได้จากการขายใบสับปะรด
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์

แนะนำการตัดใบสับปะรด

Increase income รายได้เพิ่มขึ้น

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก แนะนำการตัดใบสับปะรด

หนี้สินครัวเรือนลดลง

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรไร่สับปะรด

จาก รายได้เพิ่มขึ้น


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

ประชากรโลก

คำอธิบาย     ลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการเผาขยะเกษตร
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้รับประโยชน์ทางอ้อม
ระดับความสำคัญ      สูง
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย     
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์

สนับสนุนสินค้า eco-friendly

มีการนำใบสับปะรดเหลือทิ้งไปใช้มากขึ้น

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก สนับสนุนสินค้า eco-friendly

สร้างให้ประชาชนรู้จักมีความรับผิดชอบต่อสังคม

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรไร่สับปะรด
  • เพื่อลดปริมาณขยะเกษตรกรรมที่ยากในการกำจัด
  • เพื่อลดการใช้หนังสัตว์ที่อาจนำไปสู่การทารุณสัตว์

จาก มีการนำใบสับปะรดเหลือทิ้งไปใช้มากขึ้น


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

กลุ่มสหกรณ์ประจำอำเภอ

คำอธิบาย     สร้างรายได้จากการแปรรูปใบสับปะรดให้เป็นเส้นใยสับปะรด
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้รับประโยชน์ทางตรง
ระดับความสำคัญ      สูง
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย      ผลิตใบสับปะรดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์

การ training การผลิตเส้นใยสับปะรด



ข้อมูลผู้มีส่วนได้เสีย
ตัวชี้วัด
จำนวน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
มาจาก