ฟู้ดอินโนเวท (FoodInnovate) เป็นธุรกิจที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีการผลิตอาหารระดับอุตสาหกรรมสำหรับอุตสาหกรรมอาหารขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งสตาร์ทอัพ เราให้ความสำคัญกับการปรับเปลี่ยนระบบอาหารทั้งระบบโดยการฟื้นสร้างตั้งแต่การเพาะปลูกโดยใช้การทำเกษตรกรรมเชิงนิเวศ จนถึงการแปรรูปและการจัดจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรที่มีความสด ใหม่ และมีคุณค่าสูงให้แก่ผู้บริโภค ฟู้ดอินโนเวทให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยีการผลิตสินค้าอาหารแปรรูปที่ต้องการเทคโนโลยีการผลิตขั้นก้าวหน้า เช่น การทำสูตรอาหารและเครื่องดื่มที่ให้พลังงานสูงและย่อยง่ายสำหรับผู้สูงอายุ หรืออาหารและเครื่องดื่มที่ให้โปรตีนสูง โดยฟู้ดอินโนเวทช่วยพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิต แนะนำเรื่องกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ประสานงานกับบริษัทที่รับจ้างผลิต รวมถึงจัดหาวัตถุดิบคุณภาพสูง (sourcing) จากวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นนทบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ที่ได้รับการรับรองการผลิตในระบบ GMP ให้แก่ลูกค้าของฟู้ดอินโนเวท เราต้องการเป็นส่วนหนึ่งของกลไกที่จะทำให้เกิดความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของเกษตรกรในการปกป้องสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่เกษตรกรในการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการที่ดิน จากการปลูกพืชเชิงเดี่ยวมาเป็นเกษตรผสมผสานแบบวนเกษตรที่ลดการใช้สารเคมี เพื่อผู้บริโภคสามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยท่ามกลางการสภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลก
ประเทศไทยเรามีปัญหาเรื่องผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อชนิดเรื้อรังหรือ NCDs เพิ่มขึ้นทุกปีทั้งในชุมชนเมืองและชุมชนชนบท ไม่ว่าจะเป็นเรื่องโรคหลอดเลือด ความดัน เบาหวาน มะเร็ง ทำให้ผู้ป่วยและระบบสาธารณสุขของรัฐมีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลสูงขึ้นทุกปี ส่วนหนึ่งของการเกิดโรคไม่ติดต่อชนิดเรื้อรังนี้เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีสัดส่วนของสารอาหารไม่เหมาะสม เช่น การบริโภคคาร์โบไฮเดรตและไขมันมากเกินไป บริโภคโปรตีนและใยอาหารในสัดส่วนต่ำกว่าที่ควรจะเป็น รวมถึงการบริโภคอาหารที่มีการปนเปื้อนสารเคมีเกษตร ความชุกของโรค NCDs และภาวะทุพโชนาการทั้งโภชนาการขาดและโภชนาการเกินมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งในชุมชนเมืองและชุมชนชนบท
จากโครงการ"รากคืนถิ่น (Returning Roots)" ร่วมกับเจ้าของที่ดินที่ผ่านมา ฟู้ดอินโนเวทมีโซลูชันสำหรับการทำเกษตรกรรมเชิงนิเวศที่เพิ่มคุณค่าของพื้นที่ในการทำเกษตรอินทรีย์ หรือทำตลาดสินค้าอาหารปลอดภัย หรือสินค้าอาหารที่ต้องการคำตอบให้แก่ผู้บริโภคเรื่องการปกป้องสิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับปฏิบัติเชิงพื้นที่ที่สามารถตรวจสอบได้ ฟู้ดอินโนเวทต้องการให้เกิดความเป็นธรรมแก่เกษตรกรในเรื่องการจำหน่ายและผลตอบแทนจากการเพาะปลูกสินค้าเกษตรคุณภาพสูง เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เลี้ยงชีพที่ดีขึ้น และเพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงอาหารที่สด สะอาด ปลอดภัย ราคาไม่แพง และดีต่อสุขภาพ เพราะนอกจากเกษตรกรจะผลิตวัตถุดิบมาเป็นอาหารแล้ว พวกเขาเป็นผู้พิทักษ์ผืนดินหรือ Land Guardian ในการช่วยกันปกป้องสิ่งแวดล้อม แนวทางของฟู้ดอินโนเวทคือการกระจายผลตอบแทนส่วนที่เกษตรกรได้ทำหน้าที่ผู้พิทักษ์ผืนดินในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น นอกเหนือจากรายรับจากการจำหน่ายสินค้าเกษตร โดยการทำให้ห่วงโซ่ของสินค้าอาหารสั้นที่สุดและเกิดการกระจายผลตอบแทนให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เป็นธรรมมากขึ้น เพราะโดยองค์รวมแล้ว ไม่เพียงแต่เกษตรกรจะได้ประโยชน์ ผู้บริโภคก็ยังได้ประโยชน์ด้วย
ระยะเวลา: 24 เดือน
งบประมาณ: 0.00 บาท
ทีม: ดร.ปาริฉัตร หงสประภาส
(Founder and CTO)
2.4 By 2030, ensure sustainable food production systems and implement resilient agricultural practices that increase productivity and production, that help maintain ecosystems, that strengthen capacity for adaptation to climate change, extreme weather, drought, flooding and other disasters and that progressively improve land and soil quality
2.2 By 2030, end all forms of malnutrition, including achieving, by 2025, the internationally agreed targets on stunting and wasting in children under 5 years of age, and address the nutritional needs of adolescent girls, pregnant and lactating women and older persons
11.a Support positive economic, social and environmental links between urban, per-urban and rural areas by strengthening national and regional development planning
ผู้มีส่วนได้เสียเจ้าของที่ดินรายย่อยที่ต้องการปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดินเป็นการทำวนเกษตร |
||
คำอธิบาย เจ้าของที่ดินในพื้นที่ตำบลสิงหนาท อำเภอลาดบัวหลวง พระนครศรีอยุธยา เป็นผู้มีอำนาจในการตัดสินใจปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ที่ดิน เช่น การขุดบ่อเพื่อเป็นแหล่งกักเก็บน้ำ การปลูกไม้เศรษฐกิจ และการตัดสินใจประเมินและจำหน่ายคาร์บอนเครดิต ต้องการให้มีการใช้ประโยชน์จากที่ดินอย่างยั่งยืน ลดการใช้สารเคมี เพิ่มมูลค่าของที่ดิน และสนับสนุนให้เกษตรกรที่เช่าพื้นที่มีรายรับมากขึ้น
ประเภทผู้รับประโยชน์
ผู้เป็นปัจจัยความสำเร็จของโครงการ
ระดับความสำคัญ สูง ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. งบประมาณลงทุนในการปรับพื้นที่เช่น การขุดบ่อกักเก็บน้ำ การขยายคันล้อม การจัดการวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมีหรือการเผาค่อนข้างสูง 2. ช่วงระยะเวลาที่เจ้าของที่ดินจะไม่มีรายรับจากการเสียพื้นที่เพื่อปลูกไม้เศรษฐกิจก่อนจะโตเพียงพอสำหรับการประเมินเส้นฐานและการตรวจรับรองการสะสมคาร์บอนในเนื้อไม้ (monitoring-reporting-verifying, MRV) 3. คุณสมบัติของดินและสภาพบรรยากาศย่อยจากการคายระเหยน้ำที่จะเอื้อต่อการเจริญของเห็ดป่าในกลุ่มของ mycorrhiza และการเปลี่ยนแปลงในทางบวก มีโอกาสทำให้พื้นที่เกษตรกรรมสร้างรายรับเพิ่มขึ้นได้เมื่อระบบนิเวศเข้าสู่สมดุล |
||
กิจกรรม | ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) | ผลลัพธ์ |
---|---|---|
เพิ่มพื้นที่และจำนวนไม้เศรษฐกิจที่จะเข้าระบบประเมินเส้นฐานสำหรับการตรวจรับรองคาร์บอนในเนื้อไม้สำหรับการจำหน่ายคาร์บอนเครดิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อฟื้นสร้างคุณภาพของดินและน้ำในพื้นที่เกษตรกรรม ทยอยลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรและหยุดการใช้สารเคมีในที่สุด รวมถึงการเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ |
จำนวนไม้ยืนต้นหรือไม้เศรษฐกิจในพื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มขึ้น ปรับเปลี่ยนคุณสมบัติของดินและน้ำ ลดการใช้ปุ๋ยเคมี
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก เพิ่มพื้นที่และจำนวนไม้เศรษฐกิจที่จะเข้าระบบประเมินเส้นฐานสำหรับการตรวจรับรองคาร์บอนในเนื้อไม้สำหรับการจำหน่ายคาร์บอนเครดิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อฟื้นสร้างคุณภาพของดินและน้ำในพื้นที่เกษตรกรรม ทยอยลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรและหยุดการใช้สารเคมีในที่สุด รวมถึงการเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ รายได้ของเจ้าของที่ดินเพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายคาร์บอนเครดิตให้หน่วยงานพันธมิตรของฟู้ดอินโนเวทภายหลังการประเมิน MRV โดยหน่วยงานพันธมิตรในต่างประเทศที่มีความเชี่ยวชาญด้าน remote sensing และ forestry ร่วมกับ blockchain technology
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก เพิ่มพื้นที่และจำนวนไม้เศรษฐกิจที่จะเข้าระบบประเมินเส้นฐานสำหรับการตรวจรับรองคาร์บอนในเนื้อไม้สำหรับการจำหน่ายคาร์บอนเครดิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อฟื้นสร้างคุณภาพของดินและน้ำในพื้นที่เกษตรกรรม ทยอยลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรและหยุดการใช้สารเคมีในที่สุด รวมถึงการเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ |
การทำเกษตรกรรมมุ่งสู่การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Carbon Emission) ในพื้นที่เกษตรกรรม เอื้อต่อการอ้างอิงในการจำหน่ายสินค้าเกษตรและอาหารที่มาจากการทำเกษตรกรรมยั่งยืน
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก จำนวนไม้ยืนต้นหรือไม้เศรษฐกิจในพื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มจำนวนขึ้น ปรับเปลี่ยนคุณสมบัติของดิน ลดการใช้ปุ๋ยเคมี เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตรกรรมจากการฟื้นสร้างระบบนิเวศภายหลังการทำเกษตรเชิงเดี่ยวที่ใช้สารเคมี
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก จำนวนไม้ยืนต้นหรือไม้เศรษฐกิจในพื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มจำนวนขึ้น ปรับเปลี่ยนคุณสมบัติของดิน ลดการใช้ปุ๋ยเคมี จาก รายได้ของเจ้าของที่ดินเพิ่มขึ้นจากผลตอบแทนจากการจำหน่ายคาร์บอนเครดิตให้หน่วยงานพันธมิตรที่ได้ทำการประเมิน onsite โดยฟู้ดอินโนเวทร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรในต่างประเทศ (MRV) จาก ลดต้นทุนในส่วนของปัจจัยการผลิตในเรื่องแหล่งไนโตรเจนให้แก่พืชที่ทำการเพาะปลูก เจ้าของที่ดินรายย่อยยังคงรักษาความเป็นเจ้าของเอกสารสิทธิ์การใช้ที่ดิน ไม่จำหน่ายให้เอกชนรายใหญ่ที่มีกำลังซื้อสูงที่เข้าลักษณะ land grab
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก จำนวนไม้ยืนต้นหรือไม้เศรษฐกิจในพื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มขึ้น ปรับเปลี่ยนคุณสมบัติของดินและน้ำ ลดการใช้ปุ๋ยเคมี |
ผู้มีส่วนได้เสียเกษตรกรรายย่อยที่ต้องการปรับเปลี่ยนวิธีการเพาะปลูกเป็นการปลูกพืชผสมผสาน |
||
คำอธิบาย เกษตรกรรายย่อยอย่างน้อย 20 ครัวเรือนที่ทำนาในพื้นที่เป้าหมายระยะแรกของฟู้ดอินโนเวทในตำบลสิงหนาท อำเภอลาดบัวหลวง พระนครศรีอยุธยามีรายได้ต่ำและไม่แน่นอน เนื่องจากปัจจัยการผลิต เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าแมลงมีราคาสูงขึ้น
ประเภทผู้รับประโยชน์
ผู้รับประโยชน์ทางตรง
ระดับความสำคัญ สูง ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกษตรกรอยู่ในพื้นที่ทุ่งรับน้ำฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาภายใต้โครงการบริหารจัดการน้ำของหน่วยงานภาครัฐ มีต้นทุนในการเพาะปลูกสูงขึ้นจากการไม่สามารถใช้ประโยชน์ในพื้นที่เป็นเวลา 2-4 เดือน รวมถึงต้นทุนในเรื่องราคาปัจจัยการผลิตที่สูงขึ้น และต้นทุนเชื้อเพลิงที่ต้องสูบน้ำออก รวมทั้งการปรับพื้นที่ให้เพาะปลูกใหม่ได้หลังน้ำลด เกษตรกรไม่มีช่องทางการจำหน่ายสินค้าเกษตรนอกเหนือจากการปลูกข้าว จึงไม่ต้องการเสี่ยงกับการบริหารจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชชนิดอื่นนอกจากข้าวซึ่งมีพ่อค้าคนกลางรับซื้อเพื่อไปจำหน่ายให้แก่โรงสี |
||
กิจกรรม | ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) | ผลลัพธ์ |
เกษตรกรเพิ่มกระบวนการตรึงไนโตรเจนสำหรับการปรับปรุงคุณภาพของดินและน้ำที่จะเพิ่มผลิตภาพของไม้ผลและพืชไร่โดยใช้กระบวนการทางชีวภาพ |
เกษตรกรลดต้นทุนในส่วนของปัจจัยการผลิตในเรื่องแหล่งไนโตรเจนให้แก่พืชที่ทำการเพาะปลูก
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก เกษตรกรเพิ่มกระบวนการตรึงไนโตรเจนสำหรับการปรับปรุงคุณภาพของดินและน้ำที่จะเพิ่มผลิตภาพของไม้ผลและพืชไร่โดยใช้กระบวนการทางชีวภาพ |
รายรับสุทธิของเกษตรกรเพิ่มขึ้นจากการลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มชนิดพืชที่ปลูก
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก ลดต้นทุนในส่วนของปัจจัยการผลิตในเรื่องแหล่งไนโตรเจนให้แก่พืชที่ทำการเพาะปลูก การทำเกษตรกรรมมุ่งสู่การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Carbon Emission) ในพื้นที่เกษตรกรรม เอื้อต่อการอ้างอิงในการจำหน่ายสินค้าเกษตรและอาหารที่มาจากการทำเกษตรกรรมยั่งยืน
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก จำนวนไม้ยืนต้นหรือไม้เศรษฐกิจในพื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มจำนวนขึ้น ปรับเปลี่ยนคุณสมบัติของดิน ลดการใช้ปุ๋ยเคมี จาก ลดต้นทุนในส่วนของปัจจัยการผลิตในเรื่องแหล่งไนโตรเจนให้แก่พืชที่ทำการเพาะปลูก |
เกษตรกรเพิ่มชนิดและพันธุ์พืชระยะสั้นที่เป็นความต้องการของตลาด รวมถึงเครื่องเทศและสมุนไพร |
เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก เกษตรกรเพิ่มชนิดและพันธุ์พืชระยะสั้นที่เป็นความต้องการของตลาด รวมถึงเครื่องเทศและสมุนไพร |
เกษตรกรมีความสามารถในการลดหนี้สินครัวเรือนเพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จาก เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น |
ฟู้ดอินโนเวทรับซื้อสินค้าเกษตรที่ผ่านการรับรองจากหน่วยงานภาครัฐทั้งที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP หรือ PGS หรือ Organic Thailand หรือ IFOAM ในราคาสูงกว่าราคาหน้าฟาร์มโดยเพิ่มผลตอบแทนจากการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของเกษตรกร 5-20% |
เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก ฟู้ดอินโนเวทรับซื้อสินค้าเกษตรที่ผ่านการรับรองจากหน่วยงานภาครัฐทั้งที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP หรือ PGS หรือ Organic Thailand หรือ IFOAM ในราคาสูงกว่าราคาหน้าฟาร์มโดยเพิ่มผลตอบแทนจากการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของเกษตรกร 5-20% |
เกษตรกรมีความสามารถในการลดหนี้สินครัวเรือนเพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จาก เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น |
ผู้มีส่วนได้เสียผู้บริโภคในชุมชนเมืองที่ต้องการผลผลิตทางการเกษตรคุณภาพสูงและอาหารเพื่อสุขภาพ |
||
คำอธิบาย ผู้บริโภคในชุมชนเมือง เช่น กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เข้าถึงผลผลิตทางการเกษตรคุณภาพสูง และสินค้าอาหารแปรรูป ผ่านช่องทางการจัดจำหน่ายของฟู้ดอินโนเวทและพันธมิตร
ประเภทผู้รับประโยชน์
ผู้รับประโยชน์ทางตรง
ระดับความสำคัญ สูง ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (1) การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างประชากรของไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือเป็นโรค NCDs ก่อนเสียชีวิตมากขึ้น จำนวนปีที่ภาครัฐต้องจ่ายสมทบในโครงการ สปสช. นานขึ้น (2) ระบบสาธารณสุขทั่วถึงของภาครัฐที่ได้พัฒนาหลังวิกฤติการณ์ Covid-19 มีประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพประชากรในประเทศได้มากขึ้น รพ.สต.ทำงานเชิงรุก และมีระบบ telemed ดีขึ้น |
||
กิจกรรม | ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) | ผลลัพธ์ |
ฟู้ดอินโนเวทส่งเสริมการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรและการแปรรูปอาหารด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับชุมชนเกษตรกรรมและการบริหารจัดการการจัดจำหน่ายอาหารสดและอาหารแปรรูป |
เกษตรกรที่มีการรวมกลุ่มหรือสร้างเครือข่ายในพื้นที่มีช่องทางการจัดจำหน่ายเพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก ฟู้ดอินโนเวทส่งเสริมการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรและการแปรรูปอาหารด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับชุมชนเกษตรกรรมและการบริหารจัดการการจัดจำหน่ายอาหารสดและอาหารแปรรูป กลุ่มเกษตรกรหรือวิสาหกิจชุมชนที่มีการตัดแต่งวัตถุดิบและขีดความสามารถในการแช่เย็นมีช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าประเภท pre-process มากขึ้น
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก ฟู้ดอินโนเวทส่งเสริมการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรและการแปรรูปอาหารด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับชุมชนเกษตรกรรมและการบริหารจัดการการจัดจำหน่ายอาหารสดและอาหารแปรรูป |
เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก เกษตรกรลดต้นทุนในส่วนของปัจจัยการผลิตในเรื่องแหล่งไนโตรเจนให้แก่พืชที่ทำการเพาะปลูก จาก เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จาก เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จาก เกษตรกรที่มีการรวมกลุ่มหรือสร้างเครือข่ายในพื้นที่มีช่องทางการจัดจำหน่ายเพิ่มขึ้น จาก กลุ่มเกษตรกรหรือวิสาหกิจชุมชนที่มีการตัดแต่งวัตถุดิบและขีดความสามารถในการแช่เย็นมีช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าประเภท pre-process มากขึ้น |
ฟู้ดอินโนเวทส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีขั้นก้าวหน้าในการแปรรูปอาหารและการผลิตส่วนผสมอาหารเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ |
มีผลิตภัณฑ์อาหารมูลค่าสูง และส่วนผสมอาหารฟังค์ชันที่ผลิตโดยเทคโนโลยีของฟู้ดอินโนเวทโดยใช้วัตถุดิบหลักในประเทศเพิ่มขึ้น และสามารถตรวจสอบย้อนกลับแหล่งปลูกและสารสำคัญ
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก ฟู้ดอินโนเวทส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีขั้นก้าวหน้าในการแปรรูปอาหารและการผลิตส่วนผสมอาหารเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ |
เพิ่มความหลากหลายของสินค้าอาหารที่ต้องการคุณสมบัติเฉพาะที่เชื่อถือได้ให้แก่ผู้บริโภค
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก มีผลิตภัณฑ์อาหารมูลค่าสูง และส่วนผสมอาหารฟังค์ชันที่ผลิตโดยเทคโนโลยีของฟู้ดอินโนเวทโดยใช้วัตถุดิบหลักในประเทศเพิ่มขึ้น และสามารถตรวจสอบย้อนกลับแหล่งปลูกและสารสำคัญ |
ฟู้ดอินโนเวทพัฒนาแพลตฟอร์มที่จะสร้างความตระหนักรู้ให้แก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้ออาหาร เพื่อการจัดการห่วงโซ่อุปทานที่โปร่งใส รับรองราคาผลผลิตที่ยุติธรรมสำหรับเกษตรกร ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบย้อนกลับ และการช่วยผู้บริโภคตัดสินใจเลือกซื้ออาหารที่ให้คุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมกับตัวเอง |
ผู้บริโภคมีเครื่องมือในการตัดสินใจซื้อที่มีพื้นฐานจากข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ทางอาหารและโภชนาการที่เชื่อถือได้
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก ฟู้ดอินโนเวทพัฒนาแพลตฟอร์มที่จะสร้างความตระหนักรู้ให้แก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้ออาหาร เพื่อการจัดการห่วงโซ่อุปทานที่โปร่งใส รับรองราคาผลผลิตที่ยุติธรรมสำหรับเกษตรกร ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบย้อนกลับ และการช่วยผู้บริโภคตัดสินใจเลือกซื้ออาหารที่ให้คุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมกับตัวเอง ผู้บริโภคได้รับบริการนำส่งอาหารหรือวัตถุดิบอาหารที่ได้ผ่านการกลั่นกรองและแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านโภชนบำบัดตามความต้องการของร่างกาย
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก ฟู้ดอินโนเวทพัฒนาแพลตฟอร์มที่จะสร้างความตระหนักรู้ให้แก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้ออาหาร เพื่อการจัดการห่วงโซ่อุปทานที่โปร่งใส รับรองราคาผลผลิตที่ยุติธรรมสำหรับเกษตรกร ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบย้อนกลับ และการช่วยผู้บริโภคตัดสินใจเลือกซื้ออาหารที่ให้คุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมกับตัวเอง |
ผู้บริโภคลดความเสี่ยงในการเกิดโรคไม่ติดต่อชนิดเรื้อรังที่เกิดจากการบริโภคอาหารไม่เหมาะสม
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก มีผลิตภัณฑ์อาหารมูลค่าสูง และส่วนผสมอาหารฟังค์ชันที่ผลิตโดยเทคโนโลยีของฟู้ดอินโนเวทโดยใช้วัตถุดิบหลักในประเทศเพิ่มขึ้น และสามารถตรวจสอบย้อนกลับแหล่งปลูกและสารสำคัญ จาก ผู้บริโภคมีเครื่องมือในการตัดสินใจซื้อที่มีพื้นฐานจากข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ทางอาหารและโภชนาการที่เชื่อถือได้ |
ผู้มีส่วนได้เสียวิสาหกิจชุมชนพันธมิตรและหน่วยงานภาครัฐ |
||
คำอธิบาย เกษตรกรรายย่อยและวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่รัศมี 100 กิโลเมตร ยังต้องการช่องทางการจำหน่ายสินค้าและแนวทางในการเพิ่มมูลค่าของสินค้าเกษตร แต่ความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่ยังต้องได้รับการประเมินเบื้องต้น เพื่อลดความเสี่ยงด้านการลงทุนของเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน
ประเภทผู้รับประโยชน์
ผู้รับประโยชน์ทางอ้อม
ระดับความสำคัญ ปานกลาง ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปัจจุบันเกษตรกรรายย่อยและวิสาหกิจชุมชนได้รับการสนับสนุนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสินค้าเกษตรตามนโยบายระดับจังหวัด |
||
กิจกรรม | ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) | ผลลัพธ์ |
ฟู้ดอินโนเวทสร้างเครือข่ายกับเกษตรกรรายย่อยและวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม เพื่อความสม่ำเสมอในเรื่องปริมาณและคุณภาพของวัตถุดิบ |
เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก ฟู้ดอินโนเวทสร้างเครือข่ายกับเกษตรกรรายย่อยและวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม เพื่อความสม่ำเสมอในเรื่องปริมาณและคุณภาพของวัตถุดิบ |
เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนมีพันธมิตรที่เชี่ยวชาญด้านนวัตกรรมการแปรรูปอาหารเพิ่มมากขึ้น สร้างโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ของชุมชนเอง
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น |
ฟู้ดอินโนเวทสร้างเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญด้านการเพิ่มประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งในฟาร์ม |
เทคโนโลยีวัสดุที่เพิ่มการใช้ประโยชน์ของวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรโดยการ upcycling
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก ฟู้ดอินโนเวทสร้างเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญด้านการเพิ่มประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งในฟาร์ม |
ลดการเผาวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร และมีสินค้าใหม่จากการ upcycling
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จาก เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น จาก เทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุที่เพิ่มการใช้ประโยชน์ของวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร |