< กลับไปหน้าหลัก

บริษัทประชารัฐรักสามัคคีภูเก็ต(วิสาหกิจเพื่อสังคม)จำกัด

เผยแพร่

ภาพรวม

บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีภูเก็ต (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นภายใต้แนวคิด "ประชารัฐ" ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาชน เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยืนในระดับจังหวัด โดยมีลักษณะเป็น "วิสาหกิจเพื่อสังคม" ที่ไม่เน้นผลกำไรเป็นเป้าหมายสูงสุด แต่มุ่งเน้นการสร้างประโยชน์ร่วมให้แก่ชุมชนในระยะยาว บทบาทและหน้าที่ของบริษัท เป็นตัวกลางสนับสนุนผลิตภัณฑ์ชุมชน ทั้งด้าน การตลาด การออกแบบ การพัฒนาแบรนด์ และ การเข้าถึงช่องทางจัดจำหน่าย เชื่อมโยง ผู้ผลิตในท้องถิ่น เข้ากับ ตลาดระดับจังหวัด ระดับประเทศ และระดับสากล ดำเนินกิจกรรมเพื่อ เพิ่มศักยภาพชุมชน, ส่งเสริมอาชีพ, และ อนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ปัญหา

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ชุมชนในจังหวัดภูเก็ตประสบปัญหาหลายด้านที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะในกลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการรายย่อย และผู้ที่อยู่ในระบบเศรษฐกิจฐานราก แม้ภูเก็ตจะเป็นจังหวัดที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวระดับโลก แต่รายได้กลับกระจุกตัวอยู่ในบางภาคส่วนเท่านั้น ทำให้ชุมชนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจได้อย่างเท่าเทียม ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน รายได้ไม่มั่นคง และความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนไม่สามารถแข่งขันในตลาดได้ เนื่องจากขาดองค์ความรู้ ทักษะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการตลาด โอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนหรือช่องทางจำหน่ายที่มีคุณภาพมีจำกัด การพัฒนาที่ยังไม่เชื่อมโยงกับความต้องการของชุมชน มีโครงการพัฒนาหลายโครงการ แต่ยังไม่ตอบโจทย์วิถีชีวิตจริงของคนในพื้นที่ การพัฒนาถูกกำหนดจากบนลงล่าง (top-down) มากกว่าการมีส่วนร่วมของชุมชน ทรัพยากรในชุมชนถูกใช้โดยขาดความยั่งยืน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวโดยไม่มีแผนการจัดการที่ยั่งยืน ทำให้ชุมชนไม่ได้รับประโยชน์เต็มที่ และเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ความไม่เชื่อมโยงระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาชน การดำเนินงานแบบแยกส่วน ทำให้เกิดความซ้ำซ้อน และไม่สามารถขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างมีพลังร่วม การจัดตั้งบริษัทประชารัฐรักสามัคคี: ทางออกเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน จากปัญหาข้างต้น รัฐบาลจึงมีแนวคิดจัดตั้ง "บริษัทประชารัฐรักสามัคคี (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด" ขึ้นในทุกจังหวัด รวมถึงจังหวัดภูเก็ต โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างกลไกกลางที่เชื่อมโยงความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และชุมชนในพื้นที่ บริษัทจึงทำหน้าที่เป็น เครื่องมือกลางในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ส่งเสริมการสร้างรายได้ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และกระจายโอกาสทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึง โดยมีการดำเนินงานในรูปแบบ "วิสาหกิจเพื่อสังคม" ซึ่งให้ความสำคัญกับประโยชน์ของชุมชนเป็นหลัก มากกว่ากำไรเชิงพาณิชย์

แนวทางแก้ปัญหา

บริษัทประชารัฐรักสามัคคีภูเก็ตฯ ได้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาธุรกิจให้กับชุมชนในจังหวัดภูเก็ต เริ่มต้นตั้งแต่ปี 2559 โดยเปิดรับชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ โดยมีกลุ่มงานเกษตร แปรรูปและท่องเที่ยวโดยชุมชน ซึ่งมีชุมชนที่สนใจเข้าร่วม โดยบริษัทจะมีรายได้ 5 เปอร์เซ็นต จากการเป็นที่ปรึกษาโครงการ ซึ่งมีแนวทางการแก้ไขปัญหาของชุมชน 1. สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับชุมชน ส่งเสริมการสร้างรายได้ให้กับชุมชนในด้านเกษตร แปรรูป และท่องเที่ยวอย่างครบวงจร เช่น อ่องหลายโปปี่เป้งอ๊านเป็นการประชาสัมพันธ์สับปะรดภูเก็ต มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักมานานแล้วในเรื่องรสชาติที่มีความเป็นเอกลักษณ์แตกต่างจากสายพันธุ์อื่นๆ ชาวภูเก็ตเรียกสับปะรดเป็นภาษาใต้ว่า หย่านัด ภาษาจีนฮกเกี้ยนเรียกว่า อ่องหลาย มีนัยยะหมายถึง ความโชคดี สับปะรดจึงเป็นผลไม้มงคล นิยมใช้ไหว้เทพเจ้าทั้งในชีวิตประจำวัน และในประเพณีต่างๆ -พัฒนาโมเดลธุรกิจชุมชน (Community Business Model) จัด ที่ชุมชนมีบทบาทเป็นเจ้าของและผู้รับผลประโยชน์ 2.พัฒนาศักยภาพและยกระดับผลิตภัณฑ์ โดยจัดฝึกอบรมด้านการผลิต การแปรรูป การบรรจุภัณฑ์ และมาตรฐานสินค้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความน่าสนใจ สอดคล้องกับตลาด และสามารถแข่งขันได้ 3.สร้างช่องทางการตลาดและการเข้าถึงแหล่งทุน เชื่อมโยงผลิตภัณฑ์ชุมชนกับช่องทางจำหน่าย เช่น ตลาดออนไลน์ ร้านค้าสวัสดิการ บูธงานแสดงสินค้า รวมถึงสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งทุน เช่น สินเชื่อจากธนาคารเพื่อการเกษตรฯ หรือแหล่งทุนในระบบ 4.พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในระดับพื้นที่ เชื่อมโยงภาคีทุกภาคส่วน ได้แก่ รัฐ เอกชน และประชาชน ให้ร่วมกันวางแผนและพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนและส่งเสริมความเป็นเจ้าของร่วมในโครงการและกิจกรรมเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง 5.พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในระดับพื้นที่ เชื่อมโยงภาคีทุกภาคส่วน ได้แก่ รัฐ เอกชน และประชาชน ให้ร่วมกันวางแผนและพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนและส่งเสริมความเป็นเจ้าของร่วมในโครงการและกิจกรรมเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง

ระยะเวลา:    12 เดือน
งบประมาณ:      20,000.00 บาท

ทีม:         ดร.ขวัญณพัทสร ชาญทะเล (กรรมการผู้จัดการ)
นางกนกพรรณ ปรานวีระไพบูลย์ (ประธานกรรมการ) นางอรสา โตสว่าง (กรรมการและเลขานุการ ) นายวิระชัย ปรานวีระไพบูลย์ (ประธานที่ปรึกษา) นายธีระศักดิ์ ผลงาน (กรรมการ) นางจรรยาวรรณ สุวัณณาคาร (กรรมการ)


เป้าหมาย

เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน

Goal 1: No Poverty
Goal 1: No Poverty

1.a Ensure significant mobilization of resources from a variety of sources, including through enhanced development cooperation, in order to provide adequate and predictable means for developing countries, in particular least developed countries, to implement programmes and policies to end poverty in all its dimensions

ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

Goal 4: Quality Education
Goal 4: Quality Education

4.3 By 2030, ensure equal access for all women and men to affordable and quality technical, vocational and tertiary education, including university

สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนและสิ่งแวดล้อ

Goal 11: Sustainable Cities and Communities
Goal 11: Sustainable Cities and Communities

11.4 Strengthen efforts to protect and safeguard the world's cultural and natural heritage


โมเดลผลกระทบทางสังคม

แนะนำเพิ่มเติม


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

ชุมชนท้องถิ่น: เกษตรกรผู้ปลูกสับปะรด ชาวประมงผู้เล้ยงกุ้งมังกร แรงงานในพื้นที่ และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูป

คำอธิบาย     ชุมชนท้องถิ่น: ประกอบด้วยกลุ่มประชาชนในพื้นที่ที่มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่อนกิจกรรมของบริษัท ได้แก่ 1.เกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดภูเก็ต ซึ่งเป็นผลผลิตท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์เฉพาะ มีรายได้จากการสับปะรดผลสดเพิ่มขึ้นจากราคาผลละ 15 บาทเป็น 50 บาท มีการยกระดับสินค้าพรีเมี่ยมในโครงการอ่องหล่ายโปปี่เป้งอ้าน ราคากล่องละ 299 บาท ชาวประมงผู้เลี้ยงกุ้งมังกร ที่มีศักยภาพด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจ แรงงานในพื้นที่ ที่ได้รับโอกาสในการจ้างงานและพัฒนาทักษะ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูป ที่แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและอาหารทะเลเพื่อเพิ่มมูลค่า
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้รับประโยชน์ทางตรง
ระดับความสำคัญ      สูง
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย      ชุมชนท้องถิ่น ประกอบด้วยกลุ่มประชาชนในพื้นที่ที่มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่อนกิจกรรมของบริษัท ได้แก่ เกษตรกร ชาวประมง กลุ่มแปรรูป และแรงงานในชุมชน อย่างไรก็ตาม กลุ่มเหล่านี้ยังเผชิญกับปัญหาและความท้าทายที่หลากหลาย ได้แก่: การเข้าถึงตลาดอย่างจำกัด สินค้าชุมชนจำนวนมากยังขาดช่องทางการจัดจำหน่ายที่มั่นคงและยั่งยืน โดยเฉพาะในกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มแปรรูป ที่มีศักยภาพแต่ไม่สามารถขยายตลาดได้เอง ต้นทุนการผลิตสูงและรายได้ไม่แน่นอน เกษตรกรผู้ปลูกสับปะรด และชาวประมงผู้เลี้ยงกุ้งมังกร มักเผชิญกับต้นทุนที่ผันผวนและความเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก เช่น สภาพอากาศ ราคาวัตถุดิบ และปัญหาโรคสัตว์น้ำ ขาดองค์ความรู้ในการแปรรูปและพัฒนาแบรนด์สินค้า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหลายแห่งยังขาดทักษะด้านการพัฒนาแบรนด์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การบรรจุภัณฑ์ และการควบคุมคุณภาพให้ได้มาตรฐาน ความท้าทายด้านแรงงานและการสืบทอดอาชีพ คนรุ่นใหม่ไม่นิยมประกอบอาชีพเกษตรหรือประมง ทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงานในอนาคต และมีความเสี่ยงต่อการสูญเสียภูมิปัญญาท้องถิ่น ขาดการรวมกลุ่มและความเข้มแข็งของเครือข่ายชุมชน การทำงานแยกกันของกลุ่มเล็กๆ ทำให้ขาดอำนาจต่อรองในตลาด และขาดพลังในการพัฒนาอย่างเป็นระบบ
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์

การจัดงานเทศกาลกินกุ้งมังกร ใช้ชื่อว่า “Phuket Lobster Festival” ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรก 2018 เพื่อเป็นการสร้างประสบการณ์ที่น่าประทับใจและมีความสนุกสนานสำหรับผู้เข้าร่วมงานและกระตุ้นและเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจฐานรากทางทะเลของจังหวัดภูเก็ต

มีเกษตรกรและร้านค้าเข้าร่วมโรงการ 119 ร้านค้า

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก การจัดงานเทศกาลกินกุ้งมังกร ใช้ชื่อว่า “Phuket Lobster Festival” ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรก 2018 เพื่อเป็นการสร้างประสบการณ์ที่น่าประทับใจและมีความสนุกสนานสำหรับผู้เข้าร่วมงานและกระตุ้นและเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจฐานรากทางทะเลของจังหวัดภูเก็ต

จำนวนผู้เข้าร่วมงาน 12000 คน

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก การจัดงานเทศกาลกินกุ้งมังกร ใช้ชื่อว่า “Phuket Lobster Festival” ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรก 2018 เพื่อเป็นการสร้างประสบการณ์ที่น่าประทับใจและมีความสนุกสนานสำหรับผู้เข้าร่วมงานและกระตุ้นและเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจฐานรากทางทะเลของจังหวัดภูเก็ต

จำนวนเมนูที่สร้างสรรค์กว่า 100 เมนู

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก การจัดงานเทศกาลกินกุ้งมังกร ใช้ชื่อว่า “Phuket Lobster Festival” ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรก 2018 เพื่อเป็นการสร้างประสบการณ์ที่น่าประทับใจและมีความสนุกสนานสำหรับผู้เข้าร่วมงานและกระตุ้นและเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจฐานรากทางทะเลของจังหวัดภูเก็ต

มียอดขายกุ้งมังกร 35-40 ล้านบาท

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

จาก มีเกษตรกรและร้านค้าเข้าร่วมโรงการ 119 ร้านค้า

เงินสะพัดหมุนเวียนในจังหวัดภูเก็ต 400 ล้านบาท

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

จาก มีเกษตรกรและร้านค้าเข้าร่วมโรงการ 119 ร้านค้า

Phuket Lobster ได้รับการบรรจุการจดทะเบียนเป็นสินค้า GI (Geographical Indication) ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568 ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนและสิ่งแวดล้อ

จาก มีเกษตรกรและร้านค้าเข้าร่วมโรงการ 119 ร้านค้า

จาก จำนวนเมนูที่สร้างสรรค์จากกุ้งมังกร: กว่า 100 เมนู

การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและอาหาร: นักท่องเที่ยวและคนในพื้นที่ได้รับประสบการณ์เชิงวัฒนธรรมและอาหารพื้นถิ่น

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน
  • สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนและสิ่งแวดล้อ

จาก มีเกษตรกรและร้านค้าเข้าร่วมโรงการ 119 ร้านค้า

จาก จำนวนผู้เข้าร่วมงาน 12000 คน

กิจกรรม“เคมเปญอ่องหล่ายโป๊ปี่เป๊งอ๋าน" ในช่วงเทศกาลตรุษจีน เพื่อประชาสัมพันธ์และเพิ่มมูลค่าสับปะรดภูเก็ตแท้ สูงกว่าราคาปกติ 100 เปอร์เซ็นต์

จำหน่ายสับปะรดทีผลิตได้ในช่วงทำเคมเปญ จำนวน 5000 ลูก

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก กิจกรรม“เคมเปญอ่องหล่ายโป๊ปี่เป๊งอ๋าน" ในช่วงเทศกาลตรุษจีน เพื่อประชาสัมพันธ์และเพิ่มมูลค่าสับปะรดภูเก็ตแท้ สูงกว่าราคาปกติ 100 เปอร์เซ็นต์

มีเกษตกรผู้ปลูกสับปะรดเข้าร่วมโครงการ 25 ราย

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก กิจกรรม“เคมเปญอ่องหล่ายโป๊ปี่เป๊งอ๋าน" ในช่วงเทศกาลตรุษจีน เพื่อประชาสัมพันธ์และเพิ่มมูลค่าสับปะรดภูเก็ตแท้ สูงกว่าราคาปกติ 100 เปอร์เซ็นต์

จำนวนจุดจำหน่าย: 10 จุด รวมตลาดสด ร้านของฝาก และตลาดออนไลน์

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก กิจกรรม“เคมเปญอ่องหล่ายโป๊ปี่เป๊งอ๋าน" ในช่วงเทศกาลตรุษจีน เพื่อประชาสัมพันธ์และเพิ่มมูลค่าสับปะรดภูเก็ตแท้ สูงกว่าราคาปกติ 100 เปอร์เซ็นต์

การสื่อสารประชาสัมพันธ์ สื่อออนไลน์ (Facebook, TikTok) มีผู้เข้าถึงกว่า 200,000 คน รวมถึงสื่อท้องถิ่นและหน่วยงานภาครัฐร่วมกันประชาสัมพันธ์

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก กิจกรรม“เคมเปญอ่องหล่ายโป๊ปี่เป๊งอ๋าน" ในช่วงเทศกาลตรุษจีน เพื่อประชาสัมพันธ์และเพิ่มมูลค่าสับปะรดภูเก็ตแท้ สูงกว่าราคาปกติ 100 เปอร์เซ็นต์

กิจกรรมการจัดแพ็กเกจพรีเมียมสำหรับมอบเป็นของขวัญตรุษจีน

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก กิจกรรม“เคมเปญอ่องหล่ายโป๊ปี่เป๊งอ๋าน" ในช่วงเทศกาลตรุษจีน เพื่อประชาสัมพันธ์และเพิ่มมูลค่าสับปะรดภูเก็ตแท้ สูงกว่าราคาปกติ 100 เปอร์เซ็นต์

รายได้เพิ่มขึ้น หนี้สินสดลง

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

จาก จำหน่ายสับปะรดในรูปแบบกล่องราคากล่องละ 299 บาท: 999 กล่อง (ยอดขาย 298,701 บาท)

รายได้รวมจากการจำหน่ายสับปะรดช่วงแคมเปญ: กว่า 300,000 บาท

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

จาก จำหน่ายสับปะรดทีผลิตได้ในช่วงทำเคมเปญ จำนวน 5000 ลูก

รายได้ครัวเรือนเพิ่มขึ้น

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

จาก มีเกษตกรผู้ปลูกสับปะรดเข้าร่วมโครงการ 25 ราย

กระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่นและเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่าย โดยเฉพาะเกษตรกรในช่วงเทศกาลซึ่งมีรายได้เพิ่ม และร้านค้าชุมชนมียอดขายที่เติบโต

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

จาก จำนวนจุดจำหน่าย: 10 จุด รวมตลาดสด ร้านของฝาก และตลาดออนไลน์

การรับรู้มูลค่าทางวัฒนธรรม ผู้บริโภคตระหนักถึงคุณค่าของ “สับปะรดภูเก็ตแท้” ในฐานะผลไม้มงคล เชื่อมโยงกับแนวคิด "โชคลาภ ความอุดมสมบูรณ์ และความหวานในชีวิต" ตามความเชื่อจีน รวมถึงการสร้างภาพลักษณ์สินค้า GI: สับปะรดภูเก็ตมีมูลค่าทางตลาดและเป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้บริโภคระดับกลางถึงสูงมากขึ้น

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน
  • สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนและสิ่งแวดล้อ

จาก การสื่อสารประชาสัมพันธ์ สื่อออนไลน์ (Facebook, TikTok) มีผู้เข้าถึงกว่า 200,000 คน รวมถึงสื่อท้องถิ่นและหน่วยงานภาครัฐร่วมกันประชาสัมพันธ์

มูลค่าราคาจำหน่ายสับปะรดเพิ่มขึ้น:จากราคาปกติ 25–40 บาท/ลูก → เพิ่มเป็น 80 บาท/ลูก (เพิ่มขึ้น 100%)

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

จาก กิจกรรมการจัดแพ็กเกจพรีเมียมสำหรับมอบเป็นของขวัญตรุษจีน

แปรรูปสับปะรดภูเก็ตเป็นเวชสำอาง ภายใต้แบรนด์ SAI SAI

พัฒนาสูตรเวชสำอางจากสับปะรดภูเก็ตผ่านการวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ตและนายแพทย์ยุทธ อ๋องเจริญ แพทย์ผิวหนัง คลินิก DR.YUTHได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ 3 รายการ ได้แก่ โฟม มูส เซ่รัมและครีมลดรอยดำ

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก แปรรูปสับปะรดภูเก็ตเป็นเวชสำอาง ภายใต้แบรนด์ SAI SAI

สร้างแบรนด์ “SAI SAI” ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่สะท้อนอัตลักษณ์ท้องถิ่นภูเก็ตและได้รับมาตรฐาน อย.

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก แปรรูปสับปะรดภูเก็ตเป็นเวชสำอาง ภายใต้แบรนด์ SAI SAI

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมทดสอบสินค้า มากกว่า 100 คน จากกลุ่มนักศึกษา วัยทำงานและนักท่องเที่ยว

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก แปรรูปสับปะรดภูเก็ตเป็นเวชสำอาง ภายใต้แบรนด์ SAI SAI

การจัดแสดงและทดลองขายในงาน OTOP MIDYEAR 2024 และงานแสดงสินค้าในจังหวัด รวมถึงขายผ่านช่องทางออนไลน์ (Facebook)

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก แปรรูปสับปะรดภูเก็ตเป็นเวชสำอาง ภายใต้แบรนด์ SAI SAI

เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจให้กับสับปะรดภูเก็ต จากผลผลิตเกรดรองที่ขายได้เพียง 5–7 บาท/ลูก → เมื่อนำมาแปรรูปมีมูลค่าเพิ่มขึ้นถึง 300–500 บาท/ชิ้น

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

จาก พัฒนาสูตรเวชสำอางจากสับปะรดภูเก็ตผ่านการวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ตและนายแพทย์ยุทธ อ๋องเจริญ แพทย์ผิวหนัง คลินิก DR.YUTHได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ 3 รายการ ได้แก่ โฟม มูส เซ่รัมและครีมลดรอยดำ

ขยายโอกาสรายได้สู่ชุมชน นักเรียน นักศึกษา หารายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ และกลุ่มเกษตรกรสามารถขายผลผลิตที่ไม่ได้มาตรฐานการบริโภค อีกทั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเข้ามามีบทบาทในกระบวนการผลิต เช่น แปรรูป บรรจุ ติดฉลาก

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย

จาก สร้างแบรนด์ “SAI SAI” ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่สะท้อนอัตลักษณ์ท้องถิ่นภูเก็ตและได้รับมาตรฐาน อย.

สร้างจุดขายใหม่ในอุตสาหกรรม wellness และ cosmetic จากท้องถิ่น แสดงให้เห็นศักยภาพของภูเก็ตในการต่อยอดผลไม้ GI สู่สินค้าคุณภาพสูง

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนและสิ่งแวดล้อ

จาก สร้างแบรนด์ “SAI SAI” ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่สะท้อนอัตลักษณ์ท้องถิ่นภูเก็ตและได้รับมาตรฐาน อย.

แบรนด์ SAI SAI ได้รับการจดจำในระดับเบื้องต้น เริ่มมีฐานลูกค้าทดลองใช้ และรีวิวในกลุ่มผู้บริโภคท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

จาก จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมทดสอบสินค้า มากกว่า 100 คน จากกลุ่มนักศึกษา วัยทำงานและนักท่องเที่ยว

วางแผนพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์ในการจัดจำหน่ายในปีต่อไป

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน

จาก การจัดแสดงและทดลองขายในงาน OTOP MIDYEAR 2024 และงานแสดงสินค้าในจังหวัด รวมถึงขายผ่านช่องทางออนไลน์ (Facebook)


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

ภาครัฐ: อาทิ จังหวัดภูเก็ต องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานส่งเสริม SME และเศรษฐกิจฐานราก

คำอธิบาย     ภาครัฐ ได้แก่ หน่วยงานที่มีบทบาทในการส่งเสริม สนับสนุน และอำนวยความสะดวกในการพัฒนาชุมชนและเศรษฐกิจในระดับท้องถิ่น เช่น จังหวัดภูเก็ต องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) พาณิชย์จังหวัด และหน่วยงานด้านเศรษฐกิจฐานรากและนวัตกรรม เป็นต้น ภาครัฐมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการดำเนินงานของบริษัทประชารัฐรักสามัคคีภูเก็ต (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด ผ่านการจัดสรรงบประมาณ การวางนโยบาย การสร้างกลไกส่งเสริมการตลาด การฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพ และการเชื่อมโยงเครือข่ายกับภาคส่วนอื่นๆ
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้เป็นปัจจัยความสำเร็จของโครงการ
ระดับความสำคัญ      สูง
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย      ข้อจำกัดด้านงบประมาณและระเบียบราชการ แม้ภาครัฐจะมีบทบาทสนับสนุนอย่างชัดเจน แต่ข้อจำกัดด้านงบประมาณประจำปี และกรอบระเบียบที่เคร่งครัด อาจทำให้ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของชุมชนและกิจกรรมเชิงพาณิชย์ได้ทันต่อสถานการณ์ การบูรณาการระหว่างหน่วยงานยังไม่เต็มที่ หลายโครงการจากภาครัฐมีความซ้ำซ้อนกันระหว่างหน่วยงาน ทำให้เกิดช่องว่างในการประสานความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพในการสนับสนุนภาคประชาชนหรือวิสาหกิจเพื่อสังคมอย่างเป็นระบบ ความเข้าใจต่อรูปแบบธุรกิจเพื่อสังคมยังจำกัด หน่วยงานบางแห่งยังขาดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับแนวคิด "วิสาหกิจเพื่อสังคม" จึงอาจไม่สามารถออกแบบนโยบายหรือโครงการที่ตรงเป้าหมายได้อย่างเหมาะสม การสร้างความต่อเนื่องของนโยบาย การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารหรือนโยบายระดับประเทศ-จังหวัด ส่งผลต่อความต่อเนื่องของโครงการสนับสนุน อาจเกิดภาวะ “นโยบายไม่ต่อเนื่อง” ที่ทำให้โครงการดีๆ ขาดการผลักดัน การขาดกลไกติดตามผลและประเมินผลกระทบทางสังคม ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการในระดับชุมชนยังไม่ครอบคลุมถึงผลลัพธ์เชิงสังคมและความยั่งยืน จึงอาจไม่สามารถวัดประสิทธิผลของการสนับสนุนได้อย่างแท้จริง
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์

คณะกรรมการประสานและขับเคลื่อนนโยบายสานพลังประชารัฐประจำจังหวัด (คสป.)

กิจกรรมส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน การจัดงานเทศกาล เช่น Phuket Lobster Festival โครงการส่งเสริมการแปรรูปสับปะรด และสร้างแบรนด์เวชสำอาง SAI SAI แคมเปญ “อ่องหล่ายโป๊ปี่เป๊งอ๋าน” ส่งเสริมสินค้าเกษตรช่วงเทศกาล

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก คณะกรรมการประสานและขับเคลื่อนนโยบายสานพลังประชารัฐประจำจังหวัด (คสป.)

การเชื่อมโยงกับภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความร่วมมือกับเทศบาล/อบต./จังหวัด ในการใช้พื้นที่จัดงาน การตลาด และการประชาสัมพันธ์

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก คณะกรรมการประสานและขับเคลื่อนนโยบายสานพลังประชารัฐประจำจังหวัด (คสป.)

การสร้างกลไกความร่วมมือเชิงนโยบาย การประสานงานระหว่างบริษัท ภาครัฐ และชุมชนเพื่อขับเคลื่อนโครงการอย่างเป็นระบบ

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก คณะกรรมการประสานและขับเคลื่อนนโยบายสานพลังประชารัฐประจำจังหวัด (คสป.)

ภาครัฐสามารถลดภาระและปรับบทบาทเป็นผู้สนับสนุน ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้นผ่านการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรา หน่วยงานสามารถนำกิจกรรมบริษัทไปต่อยอดเชิงนโยบายได้ทันที

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน
  • สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนและสิ่งแวดล้อ

จาก กิจกรรมส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน การจัดงานเทศกาล เช่น Phuket Lobster Festival โครงการส่งเสริมการแปรรูปสับปะรด และสร้างแบรนด์เวชสำอาง SAI SAI แคมเปญ “อ่องหล่ายโป๊ปี่เป๊งอ๋าน” ส่งเสริมสินค้าเกษตรช่วงเทศกาล

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ เกิดกิจกรรมที่ช่วยสร้างรายได้ในระดับตำบล/อำเภอ เพิ่มโอกาสใช้กลไกท้องถิ่นสนับสนุนกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยสนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่นผ่านการส่งเสริมสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน
  • สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนและสิ่งแวดล้อ

จาก การเชื่อมโยงกับภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความร่วมมือกับเทศบาล/อบต./จังหวัด ในการใช้พื้นที่จัดงาน การตลาด และการประชาสัมพันธ์

หน่วยงานส่งเสริม SME และเศรษฐกิจฐานรากมีโมเดลที่ชัดเจน ใช้เป็นต้นแบบการบ่มเพาะผู้ประกอบการท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหาสังคม เพิ่มความร่วมมือกับเอกชนในเชิงนโยบายแบบ Social Enterprise

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนและสิ่งแวดล้อ

จาก การสร้างกลไกความร่วมมือเชิงนโยบาย การประสานงานระหว่างบริษัท ภาครัฐ และชุมชนเพื่อขับเคลื่อนโครงการอย่างเป็นระบบ


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

แรงงานในพื้นที่

คำอธิบาย     แรงงานในพื้นที่ หมายถึงกลุ่มคนในชุมชนที่ประกอบด้วยแรงงานทั่วไป แรงงานฝีมือ และแรงงานที่ขาดโอกาส ทั้งกลุ่มผู้ว่างงาน แรงงานนอกระบบ ผู้สูงอายุ หรือเยาวชนที่ไม่ได้ศึกษาต่อ ซึ่งมีศักยภาพในการเข้าร่วมกิจกรรมการผลิต การแปรรูป หรือการบริการในภาคการท่องเที่ยวของท้องถิ่น บริษัทประชารัฐรักสามัคคีภูเก็ต (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด มีบทบาทในการเปิดพื้นที่สร้างงาน สร้างอาชีพ และพัฒนาทักษะให้แก่แรงงานเหล่านี้ เพื่อให้สามารถมีรายได้ที่มั่นคงและยกระดับคุณภาพชีวิต
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้รับประโยชน์ทางอ้อม
ระดับความสำคัญ      สูง
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย      ทักษะยังไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด แรงงานบางส่วนขาดทักษะเฉพาะด้านที่จำเป็น เช่น การแปรรูปอาหาร การขายออนไลน์ การบริการนักท่องเที่ยว หรือการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล แรงงานสูงวัยหรือแรงงานนอกระบบขาดโอกาสเข้าถึงการพัฒนา กลุ่มผู้สูงอายุหรือแรงงานนอกระบบยังเข้าไม่ถึงโครงการฝึกอบรมหรือสิทธิประโยชน์จากรัฐ เช่น ประกันสังคม หรือการพัฒนาทักษะอาชีพ รายได้ไม่มั่นคงและไม่มีระบบสวัสดิการรองรับ งานในภาคเกษตรและการผลิตมักเป็นงานชั่วคราว รายได้ไม่แน่นอน และไม่มีระบบสวัสดิการหรือความมั่นคงในการทำงาน ทัศนคติและแรงจูงใจของแรงงานบางส่วน บางคนขาดแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองหรือมีทัศนคติที่ไม่สอดคล้องกับการทำงานแบบทีม ส่งผลต่อประสิทธิภาพและความต่อเนื่องของกิจกรรม การเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว แรงงานในพื้นที่มีความเปราะบางต่อภาวะเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของภาคท่องเที่ยว เช่น ช่วงโควิด-19 ทำให้ตกงานทันทีและไม่มีอาชีพเสริมรองรับ
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์

ทุกกิจกรรมของบริษัทมีผลกระทบต่อแรงงานในพื้นที่ โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เช่น การผลิตเวชสำอางจากสับปะรด (แบรนด์ SAI SAI) การผลิตผ้าบาติกและสินค้าหัตถกรรมโดยชุมชน การจ้างงานในกิจกรรมเทศกาล เช่น Phuket Lobster Festival และ แคมเปญตรุษจีน การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน เช่น ท่าฉัตรไชย ป่าหล่าย สวนสับปะรด การอบรมฝึกอาชีพให้กับนักเรียน เยาวชน และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่

มีแรงงานในพื้นที่ได้รับจ้างงานตรงกว่า 130 ราย ทั้งในกลุ่มเกษตร แปรรูป และท่องเที่ยว กลุ่มเปราะบาง (เช่น สตรี/แรงงานนอกระบบ) เข้าถึงการฝึกทักษะอาชีพ อย่างน้อย 80 คน เกิดสินค้าแปรรูปที่ผลิตโดยแรงงานชุมชน เช่น ผ้าบาติก กระเป๋ากระจูด เวชสำอาง เสื้อยืดพิมพ์ลาย แรงงานชุมชนมีส่วนร่วมในงานบริการท่องเที่ยว เช่น การนำชม การทำกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม การต้อนรับนักท่องเที่ยว

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก ทุกกิจกรรมของบริษัทมีผลกระทบต่อแรงงานในพื้นที่ โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เช่น การผลิตเวชสำอางจากสับปะรด (แบรนด์ SAI SAI) การผลิตผ้าบาติกและสินค้าหัตถกรรมโดยชุมชน การจ้างงานในกิจกรรมเทศกาล เช่น Phuket Lobster Festival และ แคมเปญตรุษจีน การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน เช่น ท่าฉัตรไชย ป่าหล่าย สวนสับปะรด การอบรมฝึกอาชีพให้กับนักเรียน เยาวชน และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่

แรงงานในพื้นที่มีรายได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและหลากหลายโดยเฉพาะช่วงกิจกรรมเทศกาลหรือฤดูกาลท่องเที่ยว พัฒนาทักษะอาชีพใหม่ให้กับแรงงานชุมชน เช่น ทักษะด้านการแปรรูปสินค้า การตลาดออนไลน์ การบริการนักท่องเที่ยว ส่งผลให้แรงงานสามารถปรับตัวกับเศรษฐกิจสมัยใหม่ได้ดีขึ้น ลดปัญหาการย้ายถิ่นฐานแรงงาน สามารถทำงานในท้องถิ่นของตนเองได้ ไม่ต้องออกไปหางานในต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ เกิดความภาคภูมิใจในอาชีพของตนเองโดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนและแรงงานรุ่นใหม่ที่มีส่วนในการผลิตสินค้าท้องถิ่นและบริการนักท่องเที่ยว

ตัวชี้วัด   + เพิ่มตัวชี้วัด
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • ส่งเสริมอาชีพ สร้างรายได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับชุมชน
  • สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนและสิ่งแวดล้อ

จาก มีแรงงานในพื้นที่ได้รับจ้างงานตรงกว่า 130 ราย ทั้งในกลุ่มเกษตร แปรรูป และท่องเที่ยว กลุ่มเปราะบาง (เช่น สตรี/แรงงานนอกระบบ) เข้าถึงการฝึกทักษะอาชีพ อย่างน้อย 80 คน เกิดสินค้าแปรรูปที่ผลิตโดยแรงงานชุมชน เช่น ผ้าบาติก กระเป๋ากระจูด เวชสำอาง เสื้อยืดพิมพ์ลาย แรงงานชุมชนมีส่วนร่วมในงานบริการท่องเที่ยว เช่น การนำชม การทำกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม การต้อนรับนักท่องเที่ยว



ข้อมูลผู้มีส่วนได้เสีย
ตัวชี้วัด
จำนวน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
มาจาก