< กลับไปหน้าหลัก

สร้างความมั่นคงด้านอาหารและรายได้สำหรับผู้สูงอายุ ร่วมกับนักเรียนและเยาวชน

เผยแพร่

ภาพรวม

โรงเรียนมีชัยพัฒนาเชื่อมั่นในพลังของเยาวชนรุ่นใหม่ จึงขับเคลื่อน โครงการสร้างความมั่นคงด้านอาหารและรายได้สำหรับผู้สูงอายุ โดยร่วมกับเยาวชนและนักเรียนจากโรงเรียนมีชัยพัฒนาในการส่งต่อความรู้เกี่ยวกับการสร้างความมั่นคงด้านอาหารให้กับผู้สูงอายุในชุมชน กระบวนการ “คู่กันเป็นปาท่องโก๋” เป็นหนึ่งในปัจจัยความสำเร็จของโครงการ โดยเยาวชนในหมู่บ้านหรือนักเรียนของโรงเรียนมีชัยพัฒนาจะจับคู่กับผู้สูงอายุแต่ละครอบครัวเพื่อให้เยาวชนช่วยดูแลในเรื่องการดูแลสุขภาพและเรื่องของการให้ความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรพื้นที่น้อย น้ำน้อย แรงน้อย แก่ผู้สูงอายุ

ปัญหา

แนวทางแก้ปัญหา

ระยะเวลา:    12 เดือน
งบประมาณ:      0.00 บาท

ทีม:         


เป้าหมาย

เพื่อให้ผู้สูงอายุมีอาหารรับประทานอย่างเพียงพอ

Goal 2: Zero Hunger
Goal 2: Zero Hunger

2.1 By 2030, end hunger and ensure access by all people, in particular the poor and people in vulnerable situations, including infants, to safe, nutritious and sufficient food all year round

เพื่อส่งเสริมอาชีพปลูกผักในพื้นที่จำกัด และสร้างรายได้เสริมให้แก่ผู้สูงอายุ

Goal 8: Decent Work and Economic Growth
Goal 8: Decent Work and Economic Growth

8.5 By 2030, achieve full and productive employment and decent work for all women and men, including for young people and persons with disabilities, and equal pay for work of equal value

เพื่อให้นักเรียนและเยาวชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน

Goal 4: Quality Education
Goal 4: Quality Education

4.7 By 2030, ensure that all learners acquire the knowledge and skills needed to promote sustainable development, including, among others, through education for sustainable development and sustainable lifestyles, human rights, gender equality, promotion of a culture of peace and non-violence, global citizenship and appreciation of cultural diversity and of culture's contribution to sustainable development


โมเดลผลกระทบทางสังคม

แนะนำเพิ่มเติม


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

ผู้สูงอายุ

คำอธิบาย     ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในอ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์ ส่วนมากไม่ได้ประกอบอาชีพและอยู่ในภาวะพึ่งพิงรายได้จากบุตร มีรายได้รวมต่ำกว่าเส้นความยากจน
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้รับประโยชน์ทางตรง Direct beneficiary
ระดับความสำคัญ      สูง High
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย     
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์

ได้รับการอบรมเรื่องการปลูกผักสวนครัวแบบใช้พื้นที่น้อย น้ำน้อย แรงน้อย และจัดตั้งแปลงปลูกผักสวนครัว รวมทั้งได้รับอุปกรณ์การทำเกษตร

มีผักรับประทานอย่างเพียงพอและมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายผัก

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
จำนวนเริ่ม
800 บาท
จำนวนเป้าหมาย
1500 บาท

จาก ได้รับการอบรมเรื่องการปลูกผักสวนครัวแบบใช้พื้นที่น้อย น้ำน้อย แรงน้อย และจัดตั้งแปลงปลูกผักสวนครัว รวมทั้งได้รับอุปกรณ์การทำเกษตร

มีความมั่นคงทางการเงินเพิ่มขึ้น

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
ระดับเงินออม
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อให้ผู้สูงอายุมีอาหารรับประทานอย่างเพียงพอ
  • เพื่อส่งเสริมอาชีพปลูกผักในพื้นที่จำกัด และสร้างรายได้เสริมให้แก่ผู้สูงอายุ

จาก มีผักรับประทานอย่างเพียงพอและมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายผัก

ได้รับการดูแลสุขภาพโดยเยาวชนและนักเรียน

มีสุขอนามัยที่ดีขึ้น

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
บันทึกสุขภาพ
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก ได้รับการดูแลสุขภาพโดยเยาวชนและนักเรียน

มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
การสัมภาษณ์เพื่อประเมินคุณภาพชีวิต
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อให้นักเรียนและเยาวชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน

จาก มีสุขอนามัยที่ดีขึ้น


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

เยาวชนและนักเรียน

คำอธิบาย     นักเรียนโรงเรียนมีชัยพัฒนา และเยาวชนอาสาสมัครที่อาศัยอยู่ในชุมชนเดียวกับผู้สูงอายุ
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้รับประโยชน์ทางตรง Direct beneficiary
ระดับความสำคัญ      สูง High
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย     
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์

ได้รับการอบรมเรื่องการปลูกผักสวนครัวและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

มีความรู้และทักษะเพียงพอในการส่งต่อความรู้ให้กับผู้สูงอายุ

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
ระดับความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักสวนครัวและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

จาก ได้รับการอบรมเรื่องการปลูกผักสวนครัวและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

ได้ฝึกการเป็นจิตอาสา มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในการช่วยดูแลผู้สูงอายุ

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
แบบประเมินคุณภาพชีวิต (Bamboo Ladder)
จำนวนเริ่ม

จำนวนเป้าหมาย

สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • เพื่อให้นักเรียนและเยาวชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน

จาก มีความรู้และทักษะเพียงพอในการส่งต่อความรู้ให้กับผู้สูงอายุ



ข้อมูลผู้มีส่วนได้เสีย
ตัวชี้วัด
จำนวน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
มาจาก