< กลับไปหน้าหลัก

The Next Forest

เผยแพร่

ภาพรวม

The Next Forest ผู้ให้บริการเป็นที่ปรึกษา ดำเนินการ รวมถึงวัดผลการปลูกและฟื้นฟูป่าด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มุ่งฟื้นฟูป่าอย่างยั่งยืน เพื่อให้มีทุนสำหรับการดูแลพื้นที่ป่าได้อย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ รวมทั้งออกแบบและวางแผนเพื่อให้เจ้าของพื้นที่และบุคคลทั่วไปได้รับประโยชน์จากพื้นที่ป่าฟื้นฟูในอนาคต

ปัญหา

แนวทางแก้ปัญหา

ระยะเวลา:    12 เดือน
งบประมาณ:      0.00 บาท

ทีม:         จุฑาธิป ใจนวล (CEO)


เป้าหมาย

ฟื้นฟูพื้นที่ป่า

Goal 15: Life on Land
Goal 15: Life on Land

15.1 By 2020, ensure the conservation, restoration and sustainable use of terrestrial and inland freshwater ecosystems and their services, in particular forests, wetlands, mountains and drylands, in line with obligations under international agreements


โมเดลผลกระทบทางสังคม

แนะนำเพิ่มเติม


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

ผืนป่าธรรมชาติ

คำอธิบาย     ที่สำคัญคืองานด้านการฟื้นฟูป่าในประเทศไทยยังขาดการมุ่งเน้นให้ผู้คนได้รับรู้หรือได้รับประโยชน์จากพื้นที่ป่าซึ่งนำมาสู่ปัญหาความไม่ยั่งยืนของการฟื้นฟูป่าจากปัญหาดังกล่าวทำให้เกิดแนวคิดในการทำธุรกิจเพื่อสังคมที่เกี่ยวข้องกับการฟื้นฟูป่า
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้รับประโยชน์ทางตรง Direct beneficiary
ระดับความสำคัญ      สูง High
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย     
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์

เตรียมแปลงปลูกป่าและปลูกป่าสร้างพื้นที่สีเขียวว

จำนวนพื้นที่ป่าที่เพิ่มขึ้น

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
สัดส่วนของพื้นที่ป่าไม้ต่อพื้นที่ดินทั้งหมด
จำนวนเริ่ม
ไร่
จำนวนเป้าหมาย
ไร่

จาก เตรียมแปลงปลูกป่าและปลูกป่าสร้างพื้นที่สีเขียวว

ความสามารถในการกักเก็บคาร์บอนของพื้นที่ฟื้นฟู

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
ศักยภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และประเมินปริมาณคาร์บอนสะสม
จำนวนเริ่ม
ตันคาร์บอน/ไร่
จำนวนเป้าหมาย
ตันคาร์บอน/ไร่
สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • ฟื้นฟูพื้นที่ป่า

จาก จำนวนพื้นที่ป่าที่เพิ่มขึ้น

ความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) ได้แก่ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์พืช ความหลากหลายของสัตว์ที่กลับเข้ามาในพื้นที่ เป็นต้น

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
จำนวนชนิดของความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่รายงาน
จำนวนเริ่ม
ชนิดพันธู์
จำนวนเป้าหมาย
ชนิดพันธู์
สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • ฟื้นฟูพื้นที่ป่า

จาก จำนวนพื้นที่ป่าที่เพิ่มขึ้น

การติดตามผลหลังปลูก

เพิ่มอัตรการอยู่รอดของต้นไม้

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
พื้นที่ที่องค์กรปลูกต้นไม้ในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน
จำนวนเริ่ม
15 ไร่
จำนวนเป้าหมาย
50 ไร่

จาก การติดตามผลหลังปลูก

พื้นที่ป่าเพิ่มขึ้น

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
พื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่โครงการจำนวนชนิดสัตว์ป่าที่พบ / จำนวนสัตว์ป่ำที่มีควำมสำคัญต่อระบบนิเวศ(keystone species) ในพื้นที่โครงการ (NIA) / The number of wildlife species / keystone species discovered in the project forest area (SDGs)
จำนวนเริ่ม
400 ไร่
จำนวนเป้าหมาย
700 ไร่
สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • ฟื้นฟูพื้นที่ป่า

จาก เพิ่มอัตรการอยู่รอดของต้นไม้


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

ชุมชน

คำอธิบาย     ร่วมกับหน่วยงานของชุมชน พื้นที่ทางภาคเหนือในการทำโครงการพัฒนาพื้นที่ตัวอย่าง โดยมีส่วนร่วมในการสำรวจพื้นที่ และการวางแผนฟื้นฟู ดูแลรักษาพื้นที่ป่าธรรมชาติ
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้รับประโยชน์ทางตรง Direct beneficiary
ระดับความสำคัญ      สูง High
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย     
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์

ชาวบ้านนำพื้นที่มาเข้าโครงการดูแลป่า ผ่านการวางแผนดำเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัญในพื้นที่และชุมชนนเพื่อฟื้นฟูพื้นป่าโดยการ 1.ฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรมหรือเป็นพื้นที่ส่วนบุคคล 2.ดูแลรักษาพื้นที่ป่าธรรมชาติของชุมชน

พื้นที่ป่าชุมชนได้รับการจัดการเพื่อความยั่งยืน

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
พื้นที่ป่าที่เข้าร่ววมโครงการ
จำนวนเริ่ม
400 ไร่
จำนวนเป้าหมาย
500 ไร่

จาก ชาวบ้านนำพื้นที่มาเข้าโครงการดูแลป่า ผ่านการวางแผนดำเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัญในพื้นที่และชุมชนนเพื่อฟื้นฟูพื้นป่าโดยการ 1.ฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรมหรือเป็นพื้นที่ส่วนบุคคล 2.ดูแลรักษาพื้นที่ป่าธรรมชาติของชุมชน

รายได้เพิ่มขึ้น

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
ชาวบ้านในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
1600 บาท/ไร่/ปี
จำนวนเป้าหมาย
1600 บาท/ไร่/ปี

จาก ชาวบ้านนำพื้นที่มาเข้าโครงการดูแลป่า ผ่านการวางแผนดำเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัญในพื้นที่และชุมชนนเพื่อฟื้นฟูพื้นป่าโดยการ 1.ฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรมหรือเป็นพื้นที่ส่วนบุคคล 2.ดูแลรักษาพื้นที่ป่าธรรมชาติของชุมชน

มีการบริหารจัดการนะบบนิเวศอย่างยั่งยืน

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
พื้นที่ป่าที่เข้าร่ววมโครงการ
จำนวนเริ่ม
400 ไร่
จำนวนเป้าหมาย
500 ไร่
สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • ฟื้นฟูพื้นที่ป่า

จาก พื้นที่ป่าชุมชนได้รับการจัดการเพื่อความยั่งยืน

ชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพในการดูแลป่าอย่างยั่งยืน

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
จำนวนชาวบ้านที่เข้าร่วมโครงการ
จำนวนเริ่ม
ครัวเรือน
จำนวนเป้าหมาย
ครัวเรือน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • ฟื้นฟูพื้นที่ป่า

จาก พื้นที่ป่าชุมชนได้รับการจัดการเพื่อความยั่งยืน

ผลผลิตจากป่าที่ชาวบ้านสามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการยังชีพ หรือการจำหน่าย

ตัวชี้วัด   แก้ไขตัวชี้วัด
รายได้เพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
บาท
จำนวนเป้าหมาย
บาท
สอดคล้องกับเป้าหมาย
  • ฟื้นฟูพื้นที่ป่า

จาก พื้นที่ป่าชุมชนได้รับการจัดการเพื่อความยั่งยืน



ข้อมูลผู้มีส่วนได้เสีย
ตัวชี้วัด
จำนวน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
มาจาก