บริษัท บ้านคนพิเศษ วิสหกิจเพื่อสังคม จำกัด คนพิการขาด โอกาสในการกระตุ้นพัฒนาการและการส่งเสริมด้านอาชีพ หลังจากที่ได้รับการฝึกกระตุ้นพัฒนาการได้ดีขึ้นและได้ฝึกอาชีพอิสระได้แล้ว แต่ไม่สามารถนำอาชีพที่มีมาสร้างรายได้ได้ บ้านคนพิเศษแก้ปัญหาด้วยการฝึกทักษะของคนพิการที่มีอยู่แล้วให้ได้มาตราฐานตามที่ตลาดต้องการ ทำให้คนพิการมีอาชีพ รายได้ และเกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง อีกทั้งสามารถทำงานร่วมกับครอบครัวได้อีกด้วย
ระยะเวลา: 12 เดือน
งบประมาณ: 0.00 บาท
ทีม: อารยา แดงแสง
(CEO)
ผู้มีส่วนได้เสียคนพิการ |
||
คำอธิบาย คนพิการกว่า 60 คน ได้รับการฝึกอาชีพ แต่ไม่สามารถนำอาชีพของตัวเองไปทำให้เกินรายได้ได้
1.คนพิการไม่มีคนช่วยเพื่อเชื่อมโยงทำตลาด
2.คนพิการไม่สามารถทำอาชีพได้ตามมาตรฐานที่ตลาดต้องการ
3.คนพิการไม่สามารถออกแบบให้เป็นที่ต้องการของตลาด
ประเภทผู้รับประโยชน์
ผู้รับประโยชน์ทางตรง
ระดับความสำคัญ สูง ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย |
||
กิจกรรม | ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) | ผลลัพธ์ |
---|---|---|
อาชีพผ้าทอมือซาโอริ คนพิการทอผ้า |
คนพิการได้รับความรู้และมีทักษะในการทอผ้า
จำนวนเริ่ม
20 คน จำนวนเป้าหมาย 20 คน จาก อาชีพผ้าทอมือซาโอริ คนพิการทอผ้า คนพิการมีรายได้เพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
500 บาท จำนวนเป้าหมาย 7000 บาท จาก อาชีพผ้าทอมือซาโอริ คนพิการทอผ้า คนพิการมีสมาธิในการทำงาน ลดพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
จำนวนเริ่ม
1 ชั่วโมง จำนวนเป้าหมาย 6 ชั่วโมง จาก อาชีพผ้าทอมือซาโอริ คนพิการทอผ้า |
คนพิการมีทักษะและมีความรู้ในการประกอบอาชีพตามมาตรฐานที่บริษัทกำหนด
จำนวนเริ่ม
20 คน จำนวนเป้าหมาย 25 คน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก คนพิการได้รับความรู้และมีทักษะในการทอผ้า คนพิการมีรายได้มั่นคง และมีเงินออม
จำนวนเริ่ม
500 บาท จำนวนเป้าหมาย 20000 บาท
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก คนพิการมีรายได้เพิ่มขึ้น คนพิการมีความสุขในการทำงาน มีความภูมิใจในตัวเอง
จำนวนเริ่ม
6 ชั่วโมง จำนวนเป้าหมาย 8 ชั่วโมง
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก คนพิการมีสมาธิในการทำงาน ลดพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ |
ผู้มีส่วนได้เสียครอบครัวคนพิการ |
||
คำอธิบาย ครอบครัวคนพิการจำนวน 60 คน ไม่มีรายได้ หรือมีรายได้น้อย รายได้ไม่มั่นคง
1.ครอบครัวคนพิการไม่มีงานทำ
2.ครอบครัวคนพิการขาดโอกาสทำงานอาชีพ
3.ครอบครัวคนพิการ เป็นกังวนหากคนพิการไปทำงานที่อื่น โดยไม่มีคนดูแล
ประเภทผู้รับประโยชน์
ผู้รับประโยชน์ทางอ้อม
ระดับความสำคัญ ปานกลาง ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย |
||
กิจกรรม | ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) | ผลลัพธ์ |
ครอบครัวคนพิการ ตัดและเย็บกระเป๋า |
ครอบครัวคนพิการ ได้รับความรู้และมีทักษะในการตัดเย็บ
จำนวนเริ่ม
20 คน จำนวนเป้าหมาย 20 คน จาก ครอบครัวคนพิการ ตัดและเย็บกระเป๋า ครอบครัวคนพิการ ได้พูดคุย แลกเปลี่ยนถึงพฤติกรรมคนพิการในการทำงาน ต่างครอบครัว ทำให้มีความเข้าใจพฤติกรรมคนพิการมากขึ้น
ตัวชี้วัด
แก้ไขตัวชี้วัด
จำนวนผู้ปกครองและครอบครัวคนพิการ ที่เข้ามาทำงานในบริษัท มีการแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องคนพิการ ทำให้มีความเข้าใจพฤติกรรมคนพิการมากขึ้น
จำนวนเริ่ม
5 คน จำนวนเป้าหมาย 10 คน จาก ครอบครัวคนพิการ ตัดและเย็บกระเป๋า รายได้เพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
20 คน จำนวนเป้าหมาย 30 คน จาก ครอบครัวคนพิการ ตัดและเย็บกระเป๋า |
ครอบครัวคนพิการ มีความรู้และสามารถตัดเย็บ ตามมาตราฐานที่บริษัทกำหนด
จำนวนเริ่ม
10 ชิ้น จำนวนเป้าหมาย 100 ชิ้น
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก ครอบครัวคนพิการ ได้รับความรู้และมีทักษะในการตัดเย็บ ครอบครัวคนพิการ ยอมรับถึงพฤติกรรมของคนพิการ เกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของคนพิการ ทำให้ครอบครัวมีความสุข
ตัวชี้วัด
แก้ไขตัวชี้วัด
จำนวนของครอบครัวคนพิการ ยอมรับถึงพฤติกรรมของคนพิการ เกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของคนพิการ ทำให้ครอบครัวมีความสุข
จำนวนเริ่ม
10 คน จำนวนเป้าหมาย 20 คน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก ครอบครัวคนพิการ ได้พูดคุย แลกเปลี่ยนถึงพฤติกรรมคนพิการในการทำงาน ต่างครอบครัว ทำให้มีความเข้าใจพฤติกรรมคนพิการมากขึ้น ครอบครัวมีรายได้มั่นคง มีเงินออม
ตัวชี้วัด
แก้ไขตัวชี้วัด
บริษัท จัดจ้างครอบครัวคนพิการทำงานเป็นรายเดือน และครัวครัวคนพิการมีเงินออมฝากในธนาคารชุมชนออทิสติก ชลบุรี
จำนวนเริ่ม
30 คน จำนวนเป้าหมาย 60 คน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก รายได้เพิ่มขึ้น |