Sex-O-Phone เป็นโครงการที่มีเป้าหมายในการให้ความรู้และคําปรึกษากับผู้ปกครองและเยาวชนในเรื่องเพศศึกษา เพื่อช่วยลดความกังวลของผู้ปกครองในการดูแลบุตรหลาน ให้คําแนะนําในการพูดคุยเรื่องเพศ ให้คำปรึกษาเพื่อให้เกิดการรับรู้ที่ถูกต้องในเรื่องเพศแก่เยาวชนและคนในสังคม และป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต อาทิเช่น โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ การเข้าใจความหลากหลายทางเพศ LGBTIQA+ และพฤติกรรมใน วัยรุ่น โดยมีการให้คําแนะนําทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และครอบครัวโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญผ่านทางช่องทาง ออนไลน์ รวมถึงมีการร่วมมือกับโรงพยาบาลรัฐบาลในกรุงเทพมหานคร ในการตรวจ ให้ยาและให้คําปรึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
ระยะเวลา: 12 เดือน
งบประมาณ: 0.00 บาท
ทีม: แพทย์หญิง ศิศีมาส สุวรรณวิจิตร
(Chief Executive Officer และ Founder of Sex-O-Phone)
น.ส.วีณัชฐย นีรภาพิธุกานต์
(ผู้ประสานงานโครงการ)
3.1 By 2030, reduce the global maternal mortality ratio to less than 70 per 100,000 live births
3.2 By 2030, end preventable deaths of newborns and children under 5 years of age, with all countries aiming to reduce neonatal mortality to at least as low as 12 per 1,000 live births and under-5 mortality to at least as low as 25 per 1,000 live births
3.7 By 2030, ensure universal access to sexual and reproductive health-care services, including for family planning, information and education, and the integration of reproductive health into national strategies and programmes
3.8 Achieve universal health coverage, including financial risk protection, access to quality essential health-care services and access to safe, effective, quality and affordable essential medicines and vaccines for all
ผู้มีส่วนได้เสียเด็กวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 18 ปี |
||
คำอธิบาย เด็กวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 18 ที่ไม่กล้าพูดคุย
ปรึกษาปัญหาทางเพศ กับคนใกล้ชิด เช่น ครอบครัว/เพื่อน
และไม่มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเภทผู้รับประโยชน์
ผู้รับประโยชน์ทางตรง
ระดับความสำคัญ สูง ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย |
||
กิจกรรม | ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) | ผลลัพธ์ |
---|---|---|
ให้ความรู้เรื่องเพศ ผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook, Instragram, TikTok |
เด็กเกิด awareness และมีความรู้เรื่องเพศที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด
แก้ไขตัวชี้วัด
สัดส่วนของผู้หญิงอายุ 15-49 ปี ที่ทำการตัดสินใจด้วยตนเองบนพื้นฐานข้อมูลที่เพียงพอ (informed decision) ในเรื่องความสัมพันธ์ทางเพศ การคุมกำเนิด และการดูแลด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ () / Proportion of women aged 15–49 years who make their own informed decisions regarding sexual relations, contraceptive use and reproductive health care (SDGs)
จำนวนเริ่ม
0 คน จำนวนเป้าหมาย 100 คน จาก ให้ความรู้เรื่องเพศ ผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook, Instragram, TikTok |
ลดปัญหาเรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาในสังคมของวัยรุ่น
ตัวชี้วัด
แก้ไขตัวชี้วัด
สัดส่วนของผู้หญิงอายุ 15-49 ปี ที่ทำการตัดสินใจด้วยตนเองบนพื้นฐานข้อมูลที่เพียงพอ (informed decision) ในเรื่องความสัมพันธ์ทางเพศ การคุมกำเนิด และการดูแลด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ () / Proportion of women aged 15–49 years who make their own informed decisions regarding sexual relations, contraceptive use and reproductive health care (SDGs)
จำนวนเริ่ม
0 จำนวนเป้าหมาย 100
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก เด็กเกิด awareness และมีความรู้เรื่องเพศที่ถูกต้อง |
ให้คำปรึกษาเรื่องเพศ การตรวจ และให้ยากับเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย |
เด็กได้วิธีรับมือ เเละวิธีแก้ปัญหาเรื่องเพศอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด
แก้ไขตัวชี้วัด
สัดส่วนของผู้หญิงอายุระหว่าง 15 - 49 ปีที่พึงพอใจกับการวางแผนครอบครัวด้วยวิธีสมัยใหม่ () / Proportion of women of reproductive age (aged 15–49 years) who have their need for family planning satisfied with modern methods (SDGs)
จำนวนเริ่ม
0 คน จำนวนเป้าหมาย 100 คน จาก ให้คำปรึกษาเรื่องเพศ การตรวจ และให้ยากับเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย |
เด็กมีช่องทางในการรับคำปรึกษา การตรวจ และการให้ยาอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
แก้ไขตัวชี้วัด
สัดส่วนของผู้หญิงอายุ 15-49 ปี ที่ทำการตัดสินใจด้วยตนเองบนพื้นฐานข้อมูลที่เพียงพอ (informed decision) ในเรื่องความสัมพันธ์ทางเพศ การคุมกำเนิด และการดูแลด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ () / Proportion of women aged 15–49 years who make their own informed decisions regarding sexual relations, contraceptive use and reproductive health care (SDGs)
จำนวนเริ่ม
0 คน จำนวนเป้าหมาย 100 คน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก เด็กได้วิธีรับมือ เเละวิธีแก้ปัญหาเรื่องเพศอย่างถูกต้อง |
ผู้มีส่วนได้เสียผู้ปกครอง |
||
คำอธิบาย ผู้ปกครองซึ่งมีคำถาม หรือความกังวลในการพูดคุย เเละให้คำเเนะนำเรื่องเพศกับบุตรหลาน
ประเภทผู้รับประโยชน์
ผู้รับประโยชน์ทางตรง
ระดับความสำคัญ สูง ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย |
||
กิจกรรม | ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) | ผลลัพธ์ |
ให้คำปรึกษาผู้ปกครองในการพูดคุยเรื่องเพศกับวัยรุ่น |
ผู้ปกครองสามารถเข้าใจ พูดคุย ให้คำปรึกษาเรื่องเพศกับเด็กได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด
แก้ไขตัวชี้วัด
สัดส่วนของผู้หญิงอายุระหว่าง 15 - 49 ปีที่พึงพอใจกับการวางแผนครอบครัวด้วยวิธีสมัยใหม่ () / Proportion of women of reproductive age (aged 15–49 years) who have their need for family planning satisfied with modern methods (SDGs)
จำนวนเริ่ม
0 คน จำนวนเป้าหมาย 100 คน จาก ให้คำปรึกษาผู้ปกครองในการพูดคุยเรื่องเพศกับวัยรุ่น |
ลดปัญหาเและความเสี่ยงเรื่องเพศภายในครอบครัว
ตัวชี้วัด
แก้ไขตัวชี้วัด
สัดส่วนของผู้หญิงอายุระหว่าง 15 - 49 ปีที่พึงพอใจกับการวางแผนครอบครัวด้วยวิธีสมัยใหม่ () / Proportion of women of reproductive age (aged 15–49 years) who have their need for family planning satisfied with modern methods (SDGs)
จำนวนเริ่ม
0 คน จำนวนเป้าหมาย 100 คน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก ผู้ปกครองสามารถเข้าใจ พูดคุย ให้คำปรึกษาเรื่องเพศกับเด็กได้อย่างเหมาะสม |