ศุนย์การเรียนรู้บายศรีและพิธีกรรม เพื่ออนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมให้คงอยู่และเกิดรายได้
ระยะเวลา: 12 เดือน
งบประมาณ: 0.00 บาท
ทีม: นายชนะชล ภูจิตต์ทอง
(ผู้ประสานงาน)
8.2 Achieve higher levels of economic productivity through diversification, technological upgrading and innovation, including through a focus on high-value added and labour-intensive sectors
8.3 Promote development-oriented policies that support productive activities, decent job creation, entrepreneurship, creativity and innovation, and encourage the formalization and growth of micro-, small- and medium-sized enterprises, including through access to financial services
8.5 By 2030, achieve full and productive employment and decent work for all women and men, including for young people and persons with disabilities, and equal pay for work of equal value
ผู้มีส่วนได้เสียช่างบายศรี |
||
คำอธิบาย ช่างบายศรีในชุมชน 20 คน ในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์รายได้ต่ำและไม่แน่นอนเนื่องจาก ไม่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้มากพอ ส่วนใหญ่ไม่มีหน้าร้าน
ประเภทผู้รับประโยชน์
ผู้รับประโยชน์ทางตรง
ระดับความสำคัญ สูง ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย |
||
กิจกรรม | ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) | ผลลัพธ์ |
---|---|---|
ฝึกอบรมทักษะเพื่อมูลค่างานบายศรีและการรวมกลุ่ม ช่วยให้เข้าถึงช่องทางการขายที่มากขึ้น |
ผุ็เข้าร่วมมีทักษะ เกิดผู้ประกอบการใหม่ รายได้เพิ่มขึ้น
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย จาก ฝึกอบรมทักษะเพื่อมูลค่างานบายศรีและการรวมกลุ่ม ช่วยให้เข้าถึงช่องทางการขายที่มากขึ้น |
มีผู้อนุรักษ์สืบทอดงานบายศรี พิธีกรรม ที่เติบโตไปพร้อมกับการประกอบการ
จำนวนเริ่ม
จำนวนเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมาย
จาก ผุ็เข้าร่วมมีทักษะ เกิดผู้ประกอบการใหม่ รายได้เพิ่มขึ้น |