< กลับไปหน้าหลัก

Saturday School

เผยแพร่

ภาพรวม

มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School) เป็นมูลนิธิด้านการศึกษาที่เป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนในสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาไทย ด้วยความเชื่อที่ว่า ทุกคนในสังคมสามารถเป็น ส่วนหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงการศึกษาได้ โดยการช่วยส่งเสริมให้เด็กกล้าที่จะเดินตาม ความฝัน และ กลับมาสร้างความเปลี่ยนแปลง ให้กับชุมชนและสังคมของเขา

ปัญหา

ระบบและสิ่งแวดล้อมในการเรียนยังไม่สามารถทำให้ น้อง ๆ นักเรียนได้แสดงศักยภาพของตนเองออกมาได้อย่างเต็มที่

แนวทางแก้ปัญหา

ออกแบบการศึกษาที่ไม่ได้เป็นเพียงหน้าที่ของคนในระบบการศึกษาเท่านั้น แต่ทุกคนในสังคมสามารถช่วยกันออกแบบการศึกษาได้

ระยะเวลา:    12 เดือน
งบประมาณ:      500,000.00 บาท

ทีม:         Nardthiporn Maliwan (Fundraising and Partnership Manager)
Pohnpawee Yutthasansenee (Learning Quality Manager)


เป้าหมาย

เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาการและทักษะชีวิต ตามความสนใจของนักเรียน ในรูปแบบห้องเรียนวันเสาร์ Saturday Classroom และห้องเรียนหลังเลิกเรียน After School Classroom

Goal 4: Quality Education
Goal 4: Quality Education

4.1 By 2030, ensure that all girls and boys complete free, equitable and quality primary and secondary education leading to relevant and effective learning outcomes

4.4 By 2030, substantially increase the number of youth and adults who have relevant skills, including technical and vocational skills, for employment, decent jobs and entrepreneurship

4.7 By 2030, ensure that all learners acquire the knowledge and skills needed to promote sustainable development, including, among others, through education for sustainable development and sustainable lifestyles, human rights, gender equality, promotion of a culture of peace and non-violence, global citizenship and appreciation of cultural diversity and of culture's contribution to sustainable development

เพื่อให้นักเรียนไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงใน 4 ประเด็นหลักด้วยกัน ได้แก่ (1) ความตระหนักรู้ในตัวเอง (Self-awareness) (2) ความสามารถในการล้มแล้วลุกขึ้นมาได้ (Resilience) (3) ความคิดแบบพัฒนาได้ (Growth mindset) และ (4) พฤติกรรมเอื้อต่อสังคม (Prosocial behavior) เพื่อให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่ตั้งใจทำออกมาเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อคนอื่นและสิ่งรอบตัว

Goal 4: Quality Education
Goal 4: Quality Education

4.1 By 2030, ensure that all girls and boys complete free, equitable and quality primary and secondary education leading to relevant and effective learning outcomes

4.4 By 2030, substantially increase the number of youth and adults who have relevant skills, including technical and vocational skills, for employment, decent jobs and entrepreneurship

4.7 By 2030, ensure that all learners acquire the knowledge and skills needed to promote sustainable development, including, among others, through education for sustainable development and sustainable lifestyles, human rights, gender equality, promotion of a culture of peace and non-violence, global citizenship and appreciation of cultural diversity and of culture's contribution to sustainable development


โมเดลผลกระทบทางสังคม

แนะนำเพิ่มเติม


ผู้มีส่วนได้เสีย

   

เด็ก

คำอธิบาย     ปัจจุบันมุ่งไปยังนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร และ สพฐ. ในต่างจังหวัด
ประเภทผู้รับประโยชน์     ผู้รับประโยชน์ทางตรง
ระดับความสำคัญ      สูง
ปัญหา / โอกาส / ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย      - ครอบครัวรายได้น้อย - ไม่มีพื้นที่แสดงศักยภาพของตนเองออกมาได้อย่างเต็มที่ - ไม่ได้เรียนรู้สิ่งที่สนใจจากการเรียนในห้องเรียน
กิจกรรม ผลผลิต (ผลที่เกิดขึ้นทันที) ผลลัพธ์


ข้อมูลผู้มีส่วนได้เสีย
ตัวชี้วัด
จำนวน
สอดคล้องกับเป้าหมาย
มาจาก